ความรู้พื้นฐานของการวิจัยMap

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

อธิบายความหมายและคุณลักษณะของการวิจัยได้

จำแนกการวิจัยประเภทต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

เปรียบเทียบประเภทของการวิจัยแบบต่างๆ ได้

.เลือกรูปแบบการวิจัยเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

ระบุขั้นตอนของการวิจัยได้

เขียนโครงร่างการวิจัยได้

เนื้อหา

ความหมายของการวิจัย

การวิจัย เป็นกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างมีระบบ
ระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนเพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได

การวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการที่มีระบบ มีความเชื่อถือโดยใช้
ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่ที่เป็นค าตอบปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนด
ไว้อย่างชัดเจน

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาค าตอบเพื่อน ามาใช้แก้ปัญหา

การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคต

3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎเหตุและผลของธรรมชาติ

กฎความเป็นระบบของธรรมชาต

กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ

กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาต

คุณลักษณะของการวิจัย

ป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย

เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถน าไปใช้อ้างอิงหรือ
คาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต c

มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกต
หรือข้อมูลเชิงประจักษ

การวิจัยจ าเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน

เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วใน
การตอบค าถามตามจุดประสงค์ใหม

ต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่
จะท าให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ

จะต้องเป็นการดำเนินการโดยใช้ความรู้ความช านาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้
ปัญหาที่ตนเองจะทำวิจัย

ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถ
ทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม

ต้องเป็นการดำเนินการแสวงหาคำตอบที่น ามาใช้ตอบคำถามของปัญหาที่ ยัง
ไม่สามารถแก้ไขได้

การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความ
จริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการก าหนดจุดมุ่งหมายของการ
วิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาค าตอบ เพื่อใช้
อธิบาย พยากรณ์ และควบคุมปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ

ธรรมชาติของการวิจัย

การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาค าตอบที่
ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีความชัดเจนที่สามารถตรวจสอบได

การวิจัยเป็นการด าเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการตามขั้นตอน
วิธีการทางวิทยาศาสตร

การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4
ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัย ใด ๆ จ าเป็นต้องมีความเที่ยงตรง
ใน 2 ลักษณะ ได้แก่ ความเที่ยงตรงภายใน

การวิจัยมีความเชื่อมั่น

การวิจัยมีเหตุผล

การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา

การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย

การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

ประเภทของการวิจัย

การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research) เป็น
การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาความรู้ความจริงเชิงทฤษฎี/ปรากฏการณ

การวิจัยการนำไปใช้(Applied Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ใน การน า
ผลการวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ได้ในปัจจุบัน

การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูล
จากตัวแปรที่มีลักษณะเป็นตัวเลขที่ระบุระดับความมาก/น้อยของปรากฏการณ์ตามเกณฑ์ที่ก าหนดให้
ค่อนข้างชัดเจน

การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูล
จากตัวแปรที่มีลักษณะเป็นข้อความที่บรรยายลักษณะ

การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ ใช้
ข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีหลักฐานปรากฏอยู่ อาทิ รูปภาพ สิ่งพิมพ์ บันทึกเหตุการณ์

การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
ใช้บรรยายคุณลักษณะ

การวิจัยเชิงส ารวจ(Survey Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้
บรรยายคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies) เป็นการวิจัยที่ มี
วัตถุประสงค์เพื่อใช้บรรยายความสัมพันธ์ของคุณลักษณะ

ขั้นตอนในการวิจัย

เลือกหัวข้อปัญหา

การกำหนดขอบเขตของปัญหา

วางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสม

รู้ถึงเทคนิคต่างๆ ที่เหมาะสมในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตลอดจนการแปลผลการวิจัย

มองเห็นภาพอย่างแจ่มชัดว่าจะต้องท าอะไรบ้าง

การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาสาระความรู้ แนวคิด ทฤษฎี
และผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นในต ารา หนังสือ

ช่วยให้ไม่เกิดการซ้ าซ้อนในการวิจัย

ช่วยให้ก าหนดขอบเขตของการท าวิจัยได้ถูกต้องชัดเจน (กรอบแนวคิด)

ได้แนวทางในการก าหนดสมมุติฐาน

ได้แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล

ได้แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง

ได้แนวทางในการใช้ค่าสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

ได้แนวทางการแปลผลการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย

การกำหนดสมมุติฐาน หมายถึง การเขียนข้อความที่เป็นข้อคาดหวังเกี่ยวกับความ แตกต่าง
ที่อาจเป็นไปได้ ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ

การเขียนเค้าโครงการวิจัย การเขียนเค้าโครงการวิจัยเป็นขั้นตอนที่ส าคัญขั้นหนึ่ง เนื่องจาก
เค้าโครงการวิจัยนั้นจะเป็นแบบแผนในการด าเนินงานวิจัยอย่างมีระบบ

ชื่องานวิจัย

ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหา

วัตถุประสงค์

ขอบเขตของการวิจัย

ตัวแปรต่าง ๆ ที่วิจัย

คำนิยามศัพท์เฉพาะ

สมมุติฐาน

วิธีดำเนินการวิจัย

รูปแบบของงานวิจัย

การสุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

แผนการท างาน

งบประมาณ

การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะด าเนินการรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องทราบว่า
จะใช้เครื่องมืออะไรในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเครื่องมือนั้นมีหรือยัง ถ้ายังไม่มีต้องด าเนินการ
สร้างและน าเครื่องมือนั้นไปทดลองใช้ เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือ

ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยจะต้องทราบว่า
ในการท าการวิจัยนั้นสามารถจะรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ประชากรทั้งหมด

การใช้แบบทดสอบ

การใช้แบบวัดเจตคติ

การส่งแบบสอบถาม

การสัมภาษณ์

การสังเกต

การใช้เทคนิคสังคมมิต

การทดลอง

การจัดกระทำข้อมูล (Data Processing) การจัดกระท าข้อมูลเป็นวิธีการด าเนินการ
อย่างมีระบบตามล าดับขั้นกับข้อมูลต่าง ๆ

การจัดกระทำข้อมูล

Input เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห

Processing เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล

Output เป็นขั้นตอนที่น าผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น

การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน

บทนำ

การตรวจสอบเอกสาร

วิธีการดำเนินการวิจัย

ผลการวิจัย

ตัวแปรและสมมติฐาน

ความหมายของตัวแปร

ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่
ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

ลักษณะและชนิดของตัวแปร

ตัวแปรรูปธรรม

ตัวแปรนามธรรม

ชนิดของตัวแปร

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน

ตัวแปรสอดแทรก

การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

การนิยามตัวแปร

สมมติฐาน

ลักษณะของสมมติฐาน

เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ

ตัวอย่างสมมติฐาน

ประเภทของสมมติฐาน

สมมติฐานทางวิจัย

สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง

แหล่งที่มาของสมมติฐาน

การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ

ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย

การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ

การสังเกตพฤติกรรม

บทสรุป

โดยสรุปแล้วการวิจัย คือการแสวงหาความรูอยางเปนระบบ ซึ่งจะน าเสนอตามวัตถุประสงค
ที่ผูวิจัยไดก าหนด ซึ่งเปนประโยขน์ การศึกษาคนควาของตนเอง หรือองคกร เปนการตอบ
ปรากฏการณ์สภาพการ การแกปญหา หรือการประเมิน ซึ่งมีการก าหนดกลุมเปาหมายในการ วิจัยที่
สามารถอางอิงได โดยใชเครื่องมือในการประเมินอยางมีคุณภาพ

บทนำ

คำว่า "วิจัย" มีผู้ใช้กันมาก ดังจะเห็นได้จากเอกสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์รายวัน
วารสาร นิตยสาร รวมทั้งการสนทนาในวงการต่างๆ โดยเฉพาะในวงการศึกษา ที่มีการพูดถึงการท า
วิจัยกันในระดับชั้นเรียนซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปทางการศึกษาที่ได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้
ครูผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม

การเขียนคำถามวิจัย

ประเด็นค าถามเชิงพรรณนา ได้แก่ การก าหนดหัวข้อปัญหาวิจัยในรูปค าถามที่ว่า “อะไรคือ
อะไรเป็น” (What is) การตอบประเด็นค าถามดังกล่าวนี้ แสดงเป็นนัยว่า นักวิจัยจะต้องอาศัยการ
วิจัยเชิงส ารวจ

-อะไรคือพฤติกรรมแปลกแยกของนิสิต/นักศึกษาที่มีความเบี่ยงเบนทางเพศ?

-อะไรคือพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารโรงพยาบาลศูนย์ดีเด่นและไม่ดีเด่น?

ประเด็นค าถามเชิงความสัมพันธ์ ได้แก่ การกาหนดหัวข้อปัญหาวิจัย ในรูปของค าถามที่มุ่ง
หาค าตอบว่า “ตัวแปร X มีความสัมพันธ์กับตัวแปร Y หรือไม่” หรือ “ตัวแปร X พยากรณ์ตัวแปร Y
ได้หรือไม

ประเด็นคาถามเชิงเปรียบเทียบ ได้แก่ การก าหนดหัวข้อปัญหาวิจัย ในรูปของค าถามที่มุ่งเน้น
การเปรียบเทียบพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ที่สนใจระหว่างกลุ่มควบคุมที่ที่ด าเนินตามสภาวะปกติและ
กลุ่มทดลองที่จัดกระท าทางการทดลองขึ้น