Basic concept of safety law

2462 ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การแรงงานระหว่างประเทศ(ILD) International Labour Organization

2554 พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2554

วัตถุประสงค์ของกฏหมาย -เพื่อใช้เป็นมาตรการควบคุมมิให้มีการละเมิดสิทธิซึ่งกัน -เพื่อใช้เป็นแนวทางในการป้องกันและวางแผนเกี่ยวกับการบริหารจัดการ -เพื่อใช้เป็นมาตรฐานขั้นต่ำในการป้องกันอุบัติเหตุและโรคที่เกิดจากการทำงาน -เพื่อให้เป็นพื้นฐานในการให้ความรู้อบรมเพื่อปลูกฝั่งทัศนคติ

บทลงโทษตามพระราชบัญญัติความปลอดภัยพ.ศ.2554 มาตรา53 นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตราที่กำหนดกฏกกระทรวงแรงงานออกมาตรา8 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1ปี หรือปรับไม่เกิน400,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา66 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือกระทำ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2ปี หรือปรับไม่เกิน800,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

กฏกระทรวงกำหนดอัตราน้ำหนักที่ลูกจ้างทำงานได้

20 kg. สำหรับเด็กผู้หญิง 15-18ปี 25 kg. สหรับผู้หญิง 25 kg. สำหรับเด็กผู้ชาย 15-18ปี 55 kg. สหรับผู้ชาย

กฏกระทรวงหลักเกณฑ์/วิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผลตรวจแก่พนักงานแรงงาน พ.ศ.2547

-เมื่อเข้าทำงานภายใน 30วัน ครั้งต่อไปปีละครั้ง -ผลตรวจสุขภาพปกติให้แจ้งลูกจ้างภายในระยะเวลา 7วัน หลังทราบผล -ผลตรวจสุขภาพผิดปกติให้แจ้งลูกจ้างภายในระยะเวลา 3วัน หลังทราบผล

งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เกี่ยวกับการควบคุมสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพการงานให้มีสภาวะสมบูรณ์ดีทั้งทางกายและจิตใจ

ขอบเขตของกฏหมายและการบังคับใช้

1.การทำเหมือง

2.การทำ ผลิต ประกอบ

3.การก่อสร้าง

4.การขนส่งสินค้าทางบก ทางน้ำ

5.จำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง

6.โรงแรม

7.ห้างสรรพสินค้า

8.สถานพยาบาล

9.สถาบันทางการเงิน

10.สถานตรวจสอบกายภาพ

11.สถานบริการบันเทิง

12.สถานปฏิบัติการทางเคมีชีวภาพ

13.สำนักงานที่ปฏิบัติงานประกอบกิจการ

14.กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานกำหนด

หมวดที่1 หมวดทั่วไป

ข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย ต้องจัดให้มีการอบรม และฝึกปฏิบัติ

จำนวนและสัดส่วน คณะกรรมการความปลอดภัยในการทำงาน(คปอ.) -ลูกจ้าง50-90คน คณะกรรมการไม่น้อยกว่า5คน -ลูกจ้าง100-499คน คณะกรรมการไม่น้อยกว่า7คน -ลูกจ้าง500คนขึ้นไป คณะกรรมการไม่น้อยกว่า11คน

กฏกระทรวงว่าด้วยการจัดสวัสดิการสถานประกอบกิจการ พ.ศ.2548

ลูกจ้างไม่เกิน40คน มีห้องน้ำแยกชาย-หญิง และคนพิการ มีน้ำสำหรับดื่ม และสิ่งจำเป็นในการปฐมพยาบาล

ลูกจ้างตั้งแต่200คนขึ้นไป มีเตียงคนไข้อย่างน้อย 1 เตียง พยาบาล 1คน แพทย์ 1คน

ลูกจ้างตั้งแต่1,000คนขึ้นไป เตียงคนไข้อย่างน้อย 2เตียง พยาบาล 2คน แพทย์ 1คน

OCC : กระทรวงแรงงาน หน่วยงานหลักการออกกฏหมายทั้งหมด

Occupatinal : อาชีพ หมายถึงบุคคลที่ประกอบอาชีพทำงาน Health : สุขภาพอนามัย Safety : ความปลอดภัย