ภาวะหายใจวาย

สาเหตุ

ความผิดปกติ

r

ทำให้ประสิทธิภาพในการเเลกเปลี่ยนก๊าซลดลง

ปอด

อุดตัน

ทางเดินหายใจส่วนบน

tracheomalacia

subglottic stenosis

epiglottis croup

ต่อมทอนซิล

อดีนอยด์โต

ทางเดินหายใจส่วนล่าง

หลอดลมฝอยอักเสบ

โรคหืด

สูดสำลัก

bronchoma lacia

การแลกเปลี่ยนก๊าซในถุงลมพกพร่อง

ติดเชื้อที่ปอด

จมน้ำ

pulmonary embolism

ช๊อก

การหายใจ

ทรวงอก

กระดูกสันหลังโก่งหรือคด

diaphragmatic hernia

ระบบไหลเวียน

cardiogenic pulmonary edema

fat embolism

uremia

งูกัด

สมองเเละไขสันหลัง

การได้รับสารพิษ

การบาดเจ็บที่สมองเเละไขสันหลัง

การติดเชื้อที่ระบบประสาท

ไขสันหลังอักเสบ

ระบบประสาทเเละกล้ามเนื้อ

การบาดเจ็บของเส้นประสาทหลังการผ่าตัด

การบาดเจ็บจากการคลอด

Gillian barre syndrome

พยาธิสภาพ

ระยะเวลา

เฉีบยพลัน

ไม่เกิน 1-2 วัน

เรื้อรัง

เกิดขึ้นนานจนมีการปรับสมดุลของร่างกายเพื่อตอบสนองต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน

ผลิตเม็ดเลือดเเดงเพิ่มขึ้น

มีการคั่งคาร์บอนไดออกไซด์

พบในโรคปอดเรื้อรัง

bronchopulmonary dysplasia

bronchiectasis

ภาวะหัวใจซีกขวาวาย

ความดันเลือดในปอดสูงขึ้น

Subtopic

มีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที ต่ำ

หลอดเลือดปอดตีบตัว

กลไก

ภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด

การลดลงของก๊าซออกซิเจนที่หายใจเข้า

การระบายอากาศในถุงลมต่ำ

การพกพร่องของการเเลกเปลี่ยนก๊าซ

จากความผิดปกติของ alveolar capillary membrane

หนา

บวมจากเนื้อเยื่อพังผืด

ventilation/perfusion mismatch

มี intrapulmonary shunt

ภาวะคั่งคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด

การขับก๊าซออกจากปอดลดลง

การสร้างก๊าซเพิ่มขึ้น

ภาวะ dead space เพิ่มขึ้น

ภาวะที่มีเลือดไหลเวียนมาที่ปอดลดลง

มีความต้านทานในทางเดินหายใจเพิ่มขึ้น

อาการเเละการเเสดง

เริ่มต้น

อารมณ์

ซึมเศร้า

รื่นเริงผิดปกติ

ปวดศรีษะ

อัตราเเละลักษณะการหายใจที่เปลี่ยนเเปลง

ความดันโลหิตสูงขึ้น

หายใจลำบาก

เบื่ออาหาร

จากการกระตุ้นระบบประสาท sympathetic

การทำงานของหัวใจเพิ่มขึ้น

การทำงานของไตเพิ่มขึ้น

ปีกจมูกบาน

หน้าอกบุ๋ม

หายใจออกมีเสียงดัง

หายใจมีเสียงวี๊ด

รุนเเรง

ความดันโลหิตต่ำ/สูง

ตาพร่า

นอนไม่หลับ

ซึม

ไม่รู้สึกตัว

หายใจลำบาก

หายใจช้าลง

เขียว

ปลายมือ

ปลายเท้า

ทั้งตัว

การวินิจฉัย

ทำการรักษาทันทีก่อนจะทำการทดสอบ

รุนเเรง

ใส่ท่อช่วยหายใจ

ให้ออกซิเจน

ทำการทดสอบ

ประวัติ

อาการ

อาการเเสดง

การตรวจร่างกาย

ตรวจเเลป

Subtopic

pulse oximetry

spo2 น้อยกว่า 90 เปอร์เซนต์

ค่าก๊าซในหลอดเลือดเเดง

pao2 ต่ำกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท

paco2 มากกว่า 50 มิลลิเมตรปรอท

กรด ด่าง

น้อยกว่า 7.25

severe respiratory distress

สมถรรภาพปอด

vital capacity น้อยกว่า 15 มิลลิเมตร/กิโลกรัม

ค่า negative inspiratory pressure น้อยกว่า 25-30 เซนติเมตร/น้ำ

การถ่ายภาพทรวงอก

ภาวะปอดอักเสบ

ปอดแฟบ

สารน้ำในเยื่อหุ้มปอด

อื่นๆ

การส่งเพาะเชื้อ

การรักษา

เฉพาะหน้า

ใส่ท่อหลอดลมคอ

การช่วยหายใจด้วยออกซิเจนความเข้นข้นสูง

การให้สารน้ำเเละให้ยาเพื่อเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ

ตามสาเหตุ

ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวายเนื่องจากหลอดลมหดเกร็ง

ควรได้รับยาขยายหลอดลม

คอร์ติโคสเตียรอยด์

การให้ยาปฏิชีวะนะ

แก้ไขความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซ

ที่ระบบทางเดินหายใจ

ภาวะพร่องออกซิเจน

ใช้ positive pressure ventilation

peep

การคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์

bag-valve mask

การใช้เครื่องช่วยหายใจ

ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ

ยากลุ่ม inotropes

dopamine

dobutamine

การให้เลือดเพื่อเพิ่มตัวนำออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อของร่างกาย

ไม่ให้ระดับฮีโมโกบินต่ำกว่า 10 กรัม/เดซลิตร

ประคับประคอง

ดูเเลให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ

การควบคุมความสมดุลของสารน้ำ

ป้องกันเเละควบคุมการติดเชื้อ

ป้องกันอาการข้างเคียงของยา

การป้องกันภาวะเเทรกซ้อนจากการรักษา

เครื่องช่วยหายใจ

เเรงดันบวก

เเรงดันลบ

การพยาบาล

ออกซิเจน

ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน

สัณญาณชีพ

สีผิว

ระดับความรู้สึก

ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด

ค่าก๊าซในหลอดเลือดเเดง

ดูเเลให้ได้รับออกซิเจนตามเเผนการรักษา

face mask with reservoir

เครื่องช่วยหายใจเเรงบอก

รักษาค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดให้มากกว่าร้อยละ90

สอนเทคนิคการหายใจเข้า-ออก ลึกๆ

spirometry

รับยาขยายหลอดลม

ventolin

ยาขับเสมหะ

ดูเเลสายไม่ให้ หัก พัก งอ

ให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ

ดูเเลทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ

ดูเเลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามเเผนการรักษา ในกรณีที่ติดเชื้อ

จัดท่า

ศรีษะสูง

พลิกตะเเคงตัวบ่อยๆ

เสมหะ

ส่งเสริมให้ผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ

ทำกายภาพบำบัดทรวงอก

ดูดเสมหะ

ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ

จิตสังคม

ประเมิรความรู้สึกวิตกกังวล

สร้างความมั่นใจ

สร้างสัมพันธภาพ

ให้การพยาบาลด้วยสัมผัสที่นุ่มนวล

สื่อสารอย่างเหมาะสมกับผู้ป่วย

ครอบครัว

ให้ข้อมูลแก่ครอบครัวของเด็ก

ให้ครอบครัวอยู๋ด้วยขณะช่วยฟื้นคืนชีพ

ให้การดูเเลครอบครัวอย่างต่อเนื่อง

ภาวะขาดน้ำ

ประเมิณภาวะขาดน้ำ

ดูเเลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา

บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกทุกๆ 8 ชั่วโมง

สังเกตอาการผิดปกตื

ภาวะน้ำท่วมปอด

อัตราการหายใจ

สัณญาณชีพ

ความดันในหลอดเลือดดำกลาง