การสูบบุหรี่ของนักศึกษาสำนักวิชาสาธารณสุขชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีการศึกษา 2563

ที่มาและความสำคัญ

บุหรี่ถูกจัดเป็นสารเสพติดชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ง่ายเมื่อเปรียบเทียบกับสารเสพติดประเภทอื่น ควันบุหรี่จึงเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของผู้ที่สัมผัสทั้งจากการสูบโดยเจตนาและโดยไม่เจตนาผ่านจาก ควันที่พ่นออกมาจากผู้สูบ และควันจากปลายมวนที่ถูกจุดหรือที่เรียกว่า ควันบุหรี่มือสอง พบว่า มีผลกระทบต่อสุขภาพเช่นเดียวกับการสัมผัสควันบุหรี่ผ่าน

การสูบบุหรี่ของเยาวชนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ชั้นปีที่หนึ่งปีการศึกษา 2563 จึงมีความสำคัญทั้งนี้เพื่อใช้เป็นแนวทางให้ผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่มีความใกล้ชิดกับ นักศึกษามากที่สุดรวมถึงภาคประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ในการกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการควบคุมยาสูบทั้งในระดับมหาวิทยาลัยโรงเรียนและชุมชนซึ่งจะนำไปสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ของเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหรี่โดยใช้แบบสอบถามเพื่อคิดเป็นอัตราเฉลี่ยของนักศึกษา ที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในนักศึกษาชั้นปีที่1สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหรี่โดยใช้แบบสอบถามเพื่อคิดเป็นอัตราเฉลี่ยของนักศึกษา ที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในนักศึกษาชั้นปีที่1สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

กรอบแนวคิดการวิจัย

พฤติกรรมการสูบบุหรี่

ปัจจัยด้านสุขภาพจิตใจ

ปัจจัยด้านครอบครัว

ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม

ปัจจัยด้านอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน

คำถามของการวิจัย

ปัจจัยใดที่มีผลต่อพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

นิยามศัพท์เฉพาะ

ปัจจัยด้านครอบครัว

พฤติกรรมที่ได้รับการอบรมสั่งสอนกันมาในครอบครัว การเลี้ยงดู การสื่อสาร ที่สร้างความเข้าใจภายในครอบครัว

ปัจจัยด้านสุขภาพจิตใจ

สามารถรู้ถึงศักยภาพ สามารถจัดการกับความเครียดที่เกิดตามปกติในชีวิตประจำวันได้

ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม

สิ่งที่อยู่รอบตัวเราทั้งทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น สัมพันธ์กับการใช้ชีวิตประจำวัน

ปัจจัยด้านอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน

มิตรภาพที่ได้จากการทำงาน หรือ การเรียน และความสัมพันธ์ในสังคม

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

ข้อมูลที่จะใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการรณรงค์การดูแลการควบคุมและการป้องกันแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ของนักศึกษาซึ่งจะส่งผลดีต่อการมีสุขภาพที่ดี ทราบและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดจากการสูบบุหรี่และรู้ถึงโทษในการสูบบุหรี่อย่างลึกซึ้ง

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตด้านเนื้อหา

ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ

ปัจจัยด้านสุขภาพจิตใจ

ปัจจัยด้านครอบครัว

ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม

ปัจจัยด้านอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน

ตัวแปรตาม

พฤติกรรมของการสูบบุหรี่

สมมติฐาน

ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน ปัจจัยสุขภาพจิตใจ ส่งผลต่อพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการสูบบุหรี่ นิตยาร เพ็ญศิรินภา (2542)

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของการสูบบุหรี่

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของการสูบบุหรี่

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการสูบบุห

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพจิตใจ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาครอบครัว

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสภาพแวดล้อม

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอิทธิพลจากลุ่มเพื่อน

ระเบียบวิธีวิจัย

รูปแบบ/ประเภทของงานวิจัย

ประชากร

กลุ่มตัวอย่าง และขนาดตัวอย่าง

วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล

สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล