บทที่ 1
พัฒนาการการแสวงหาความรู้

ความหมายของการวิจัย

การแสวงหาความรู้ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ และการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์

นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์

การบรรยายสภาพของปัญหา อธิบายสาเหตุของปัญหา

การพยากรณ์ หรือ การทำนายเหตุการณ์

การปรับปรุงและการพัฒนาสภาพ

การควบคุมปัญหา

การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้

พัฒนาการของวิธีแสวงหาความรู้

1. การหาความรู้อย่างไม่มีระบบแบบแผน

บังเอิญ

ลองผิดลองถูก

จากผู้รู้

ผู้เชี่ยวชาญ

ประเพณี หรือ วัฒนธรรม

จากประสบการณ์

2. การหาความรู้ด้วยระบบเหตุผล

อนุมาน หรือ นิรนาม

อุปมาน หรือ อุปนัย

เป็นการแสวงหาความรู้ด้วยเหตุผล
ที่เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ 17

วิธีการแบ่งอุปมาน

เก็บรวบรวมข้อมูล , ข้อเท็จจริงย่อยๆ

การนำข้อมูลมาวิเคราะห์(แยกแยะ)
และสังเคราะห์(รวม)

สรุปเป็นข้อเท็จจริงใหญ่ หรือ ความรู้ใหม่

3. การหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

ประเภทของการวิจัย

การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือ
เชิงคุณลักษณะ

การวิจัยเชิงปริมาณ

ขั้นตอนของการวิจัย

การเลือกและกำหนดปัญหา

ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

การสรุปผลการวิจัย

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

การหาความรู้ใหม่

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

ประโยชน์ของการวิจัย

ประโยชน์ต่อสังคม

ประโยชน์ต่อผู้วิจัย

การแสวงหาความรู้ด้วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์

ระบุปัญหา หรือ กำหนดปัญหา

ตั้งสมมุติฐาน

เก็บรวบรวมข้อมูล

วิเคราะห์และตีความข้อมูล

สรุปผล

ประเภทของวิจัย

จำแนกตามจุดมุ่งหมายของวิจัย

การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์

การวิจัยประยุกต์

จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย

วิจัยเชิงประวัติศาสตร์

วิจัยเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณนา

การศึกษาสำรวจ

การศึกษาสัมพันธภาพ

การศึกษาพัฒนาการ

วิจัยเชิงทดลอง

วิจัยเชิงทดลองแท้

วิจัยกึ่งทดลอง

คุณสมบัติของนักวิจัย

ด้านความรู้หรือพุทธิพิสัย

ด้านเจตคติหรือจิตพิสัย

ด้านความสามารถหรือทักษะพิสัย