การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ ( ภัทรกร ภาคย์ ภูชิสส์ ม.2/6 )
แนวทางการพิจารณาเนื้อหาก่อนเผยแพร่ข้อมูล
ความเป็นส่วนตัว
ต้องรู้ว่าข้อมูลเป็นของใครหรือองค์กรใด
ข้อมูลสามารถเปิดเผยได้หรือไม่
ต้องรู้ว่าข้อมูลอยู่ภายใต้เงื่องไขใดและสามารถเปิดเผยได้หรือไม่
ความถูกต้อง
ข้อมูลที่ใช้ต้องมีความถูกต้อง
ต้องมีความน่าเชื่อถือ
ต้องมีความรับผิดชอบต่อข้อผิดพลาดของข้อมูล
ต้องมีการตรวจสอบทุกครั้งก่อนนำไปใช้หรือเผยแพร่
ทรัพย์สินหรือความเป็นเจ้าของ
ต้องรู้ว่าใครเป็นเจ้าของข้อมูล
ต้องรู้ว่าข้อมูลมีความสำคัญหรือมูลค่ามากน้อยเพียงใด
เราต้องเคารพสิทธิ์ผู้อื่นในการใช้ข้อมูล
การเข้าถึง
ระบุให้องค์กรหรือบุคคลใดมีสิทธิในการเข้าถึงอย่างไร
ต้องดูว่าข้อมูลมีมาตราการป้องกันอย่างไร
การสร้างและแสดงสิทธิ์ควาเป็นเจ้าของผลงาน
ข้อมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบเอกสาร รูปภาพ หรือวีดีทัศน์ นับว่าเป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่งซึ่งเราสามารถแสดงความเป็นเจ้าของได้
เราสามารถแสดงความเป็นเจ้าของได้ เช่น
การใส่ชื่อ
การระบุสัญลักษณ์
การใส่ลายน้ำ
และสามารถระบุเงื่อนไขการอนุญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้ เช่น
สามารถนำข้อมูลไปใช่เพื่อการศึกษาได้ แต่ต้องอ้างแหล่งที่มา
หากบันทึกภาพไปใช้ จะต้องทำการบันทึกให้เห็นส่วนที่แสดงถึงโลโก้ของเจ้าของผลงาน
นำภาพไปใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์ได้ แต่ต้องสำเนาไม่เกิน5000ฉบับ
ข้อมูลการบริหารสิทธิ
ข้อมูลของเจ้าของลิขสิทธิ
พรบลิขสิทธิ์
การเพิ่มคำนิยาม
มาตรการทางเทคโนโลยี
การใช้เทคโนโลยีเพื่อควบคุมการเข้าถึงเเละควบคุมการทำซ้ำ
การหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยี
การกระทำด้วยวิธีใดที่ทำให้มาตราการทางเทคโนโลยีไม่เกิดผล
เช่นการเจาะรหัส
มาตราการทากกฎหมาย
การคุ้มครองทางการบริหารสิทธิ
มาตราที่53/1
ห้ามลบ
ห้ามเปลี่ยนเเปลง
มาตราที่53/2
การนำข้อมูลที่ดัดเเปลง
เผยเเพร่
ดัดเเปลง
เช่นการลบลายน้ำ
มาตราที่53/3
ยกเว้นความมั่นคงชาติ
เเละสถานศึกษา
การคุ้มครองมาตราการทางเทคโนโลยี
มาตราที่54/4
การละเมิดโดยการหลบเลี่ยงมาตราการทางเทคโนโลยี
เช่นการเเฮ็คเข้าไปเพื่ออ่านเว็บไซด์
มาตราที่53/5
ยกเว้นการศึกษา
เเละการวิจัย
มาตราที่32/1
ระงับซื้อสินค้าทางปัญญา
มาตราที่32/2
ยกเว้นผ่านกานซื้อโดยชอบธรรม
มาตราที่51/1
การเเสดง
ห้ามทำซ้ำ
ห้ามดัดแปลง
มาตราที่64วรรค2
เพี่มค่าเสียหาย
ไม่เกิน2เท่า
มาตราที่71
สินค้าที่ละเมิด
ริบ
ทำลาย
มารยาทในการติดต่อสื่อสาร
มารยาทในการใช้อีเมล
ภาษา
สุภาพ
ชัดเจน
ตรงประเด็น
เหมาะสมกับกาละเทศะ
ใช้ตัวอักษรหนาเฉพาะตัวที่ต้องการเน้นเท่านั้น
ระบุ
หัวเรื่อง
ชื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย
ผู้ส่งอีเมล
ตำเเหน่งผู้ที่จะสื่อสารด้วย
เนื้อหาไม่ควร
ไม่ควรมีข้อความไปในทางเสื่อมเสีย
ไม่ควรเป็นข้อความที่กำกวม
ไม่ควรเป็นข้อความตำหนิ
ไม่ควรดูถูก
ไม่ควรใส่ร้ายผู้อื่นให้ได้รับความเสียหาย
ไม่ลักลอบปลอมเเปลงชื่อ
ไม่ส่งอีเมลลูกโซ่
ไม่ส่งอีเมลขายสินค้า
ไม่ส่งอีเมลโฆษณา
ไม่ส่งข้อความรบกวนผู้รับ
หลีกเลี่ยงการส่งอีเมลขาดใหญ่
มารยาทในการเเชทเเละเครือค่ายสังคม
ไม่ส่งข้อความที่ก่อปัญหา
หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ในการเขียน อ่านมากเกีนไป
ไม่ส่งข้อความยั่วยุ
ไม่สวมรอยเเอบอ้างผู้อื่น
ผลกระทบการเผยเเพร่ข้อมูลไม่เหมาะสม
ด้านจิตใจ
ผลกระทบต่อผู้เผยเเพร่
รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเองรู้สึกเสียใจเมื่อผู้อื่นมีพฤติกรรมเลียนเเบบการกระทำที่ไม่เหมาะสมของตนเอง
ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับจากการเผยเเพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
เสียใจ ทำให้รู้สึกอับอาย ไม่ปลอดภัย กลัว
ด้านสังคม
ผลกระทบต่อผู้เผยเเพร่
ถูกสังคมลงโทษ ได้รับการประณามหรือเกลียดชังจากสังคม
ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับจากการเผยเเพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
ได้รับผลกระทบด้านการใช้ชีวิตประจำวัน ครอบครัวเดือดร้อน ถูกประณามจากสังคม
ด้านการงานเเละธุรกิจ
ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับจากการเผยเเพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะมสม
อาจถูกให้ออกจากงานเพราะบริษัทเกิดความเข้าใจผิดจากข้อมูลที่ได้รับ
ด้านกฎหมาย
ผลกระทบต่อผู้เผยเเพร่
ได้รับโทษเนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นอาจผิดระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือกฎหมาย
แนวทางการปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
ปฏิเสธการรับข้อมูล ทำได้โดยการไม่กดถูกใจ
ไม่ส่งต่อ ไม่เเชร์ ไม่เผยเเพร่
เเจ้งครูหรือผู้ปกครอง หากพบปัญหาที่ไท่สามารถเเก้ไขด้วยตนเอง
เเจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูเเลเว็บไซต์นั้น
เเจ้งเจ้าหน้าที่รุฐหรือตำรวจ หากผู้ดูเเลระบบไม่จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น