การใช้งานเทคโนโลยีสาระสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ(มธุรดากร รัฐนันท์ ม.2/6)

แนวทางการปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม

ปฏิเสธการรับข้อมูล

แจ้งครูหรือผู้ปกครอง

แจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว็ปไซต์นั้น

แจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ

แนวทางการพิจารณาเนื้อหาก่อนการเผยแพร่ข้อมูล

ความเป็นส่วนตัว

ความถูกต้อง

ทรัพสินหรืความเป็นเจ้าของ

การเข้าถึง

การสร้างและแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของผลงาน

ตัวอย่างการระบุเงื่อนไขการใช้ข้อมูล

สามารถนำข้อมูลไปใช้เพื่อการศึกษาได้ แต้ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา

หากบันทึกภาพไปใช้ จะต้องทำการบันทึกให้เห็นส่วนที่แสดงถึงโลโก้ของเจ้าของผลงาน

นำภาพไปใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์ได้ แต่ต้องสำเนาไม่เกิน 5000 ฉบับ

เป็นข้อมูล และ สารสนเทศ ในรูปแบบต่างๆ
สามารถแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของได้หลายแบบ

มารยาทในการติดต่อสื่อสาร

มีหลากหลายแบบเช่น ในสังคม ในครอบครัว ในกลุ่ม

มารยาทในการใช้ อีเมล

ใช้อักษรตัวหนาเฉพาะข้อความที่ต้องเน้น

ใช้ภาษาสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ

ระบุหัวเรื่อง คนที่ชื่อผู้ที่จะสื่อสาร และ ตัวตนของผู้ส่งอีเมลให้ชัดเจน

ระบุชื่อ/ตำแหน่งของผู้ที่สื่อสารให้ถูกต้อง และ เหมาะสม

เนื้อหาในอีเมลไม่ควรมีข้อความที่แสดงถึงเจตนา เสื่อมเสีย

ไม่ส่งไฟล์ใหญ่ๆในอีเมล ให้ส่งในแอพพลิเคชั่นอื่นแทน

ไม่ลักลอบส่งอีเมล(ปลอมแปลงชื่อผู้ส่ง)ทำให้ผู้รับเข้าใจผิด

ไม่ส่งต่ออีเมลลูกโซ่

ไม่ส่งอีเมลขายสินค้า หรือ ข้อความก่อกวน

มารยาทในการแชทและเครือค่ายสังคม

ไม่มีข้อความที่เป็นชนวนก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท

หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ทั้งการอ่านและแสดงความคิดเห็น

ไม่สวมรอยเป็นคนอื่น แล้วแสดงความคิดเห็น หรือ ทำให้ผู้อื่นเสียหาย (ผิดกฏหมาย)

ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม

การไม่คำนึงถึงความถูกต้องของข้อมูลก่อนการเผยแพร่หรือส่งต่อ

ผลกระทบต่อผู้เผยแพร่

จิตใจ

รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเอง

สังคม

ถูกสังคมลงโทษได้รับการประนามหรือเกลียดชังจากสังคม

กฎหมาย

ได้รับโทษเนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นอาจผิดระเบียบกฎเกณฑ์ หรือกฎหมาย

ผลกระทบผู้อื่นที่ได้รับจากการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม

จิตใจ

เสียใจ ทำให้รู้สึกอับอาย

สังคม

ครอบครัวเดือดร้อน

กฎหมาย

ครอบครัวเดือดร้อน ถูกประนามจากสังคม