บทที่ 4
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
2. ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
1. มาตรา 50
1.1 กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2
1.1) กรณีปกติทั่วไป
1.2) กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินได้พึงประเมินที่จ่ายระหว่างปี
1.3) กรณีมีการจ่ายเงินพิเศษเป็นครั้งคราวระหว่างปี
1.4) กรณีมีจํานวนคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินไม่สมํ่าเสมอตลอดปีภาษี
1.5) กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้าง สําหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างเป็นจํานวนที่แน่นอน
1.6) กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้าง สําหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับในปีใดโดยลูกจ้างไม่ต้องรับภาระในการเสียภาษีด้วยตนเอง
1.7) กรณีเงินได้ที่นายจ้างจ่ายให้ครั ้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
1.8) กรณีจ่ายเงินได้ให้กับลูกจ้างรายวัน
1.9) กรณีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 นอกจากเงินที่นายจ้างให้ครั ้งเดียวเพราะเหตุออก
จากงาน ที่จ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
1.10) กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินที่คนต่างด้าวได้รับเนื่องจากการจ้างแรงงานของ
สํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค
2. มาตรา 3 เตรส
ค่าเช่าหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้จากการให้เช่า
ทรัพย์สินตามมาตรา 40(5)(ก)
อัตารภาษี 0.5
ค่าจ้างทําของตามมาตรา 40(7) และ มาตรา
40(8)
อัตารภาษี 0.3
รางวัลในการประกวด การแข่งขัน การชิงโชค
หรือการอื่นใดอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน
อัตารภาษี 5.0
ค่านักแสดงสาธารณะ
อัตารภาษี 5.0
ค่าโฆษณา
อัตารภาษี 2.0
ค่าขนส่ง
อัตารภาษี 1.0
หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย
ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
ต้องเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามความหมายที่กําหนดไว้ในมาตรา 39
วัตถุประสงค์ของการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
เพื่อบรรเทาภาระการเสียภาษี
ห้รัฐบาลมีรายได้เข้าคลังอย่างสมํ่าเสมอ
เพื่อลดแรงกดดันในการหลีกเลี่ยงภาษี
เพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบผู้มีเงินได้ว่าได้เสียภาษีครบถ้วนถูกต้องหรือไม่
แบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภ.ง.ด.1
ใช้สำหรับ ม.40(1)
ภ.ง.ด.2
ใช้สำหรับม.40(3) และ
(4) (ก) ถึง (ช)
ภ.ง.ด.3
ใช้สำหรับม.40(5)(6)(7)
หรือ(8) ไม่ว่าผู้มีเงินได้จะอยู่
ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม
1. ภ.ง.ด.53
2. ภ.ง.ด.54
ส่วน ก
ใช้สำหรับม.40(4)-(8)
ม.40(2)(3)(4)
(5) หรือ (6)