บทที่ 8 การแสวงหาสารสนเทศและความรู้

ความหมาย

การศึกษาค้นคว้า

การหาข้อมูลหรือการหาความรู้เพิ่มเติม เพื่อหา คาตอบจากปัญหาหนึ่งโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ในเรื่องนั้นๆ การศึกษาค้นคว้าจึงเป็นการแสวงหาสารสนเทศและความรู้ เพื่อให้ได้รับ คาตอบหรือเพื่อนาความรู้นั้นไปใช้ในการแก้ปัญหาและประกอบการตัดสนิใจได้

การวิจัย (Research)

การสำรวจ ตรวจหา เพื่อหาคำตอบในเรื่องใด เรื่องหนึ่งอย่างมีระบบและแบบแผนตามขึ้นตอนและระเบียบวิธีวิจัย

ภาคนิพนธ์ (Term paper)

มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน เพียงแต่เร่ืองที่ ผู้ทาภาคนิพนธ์มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า ต้องใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า มากกว่าเช่นใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา การทาภาคนิพนธ์โดยท่ัวไปผู้เรียนมัก ได้รับมอบหมายให้ทาเพียงเรื่องเดียวในแต่ละรายวิชา

วิทยานิพนธ์ ( Thesis/Dissertation)

เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎี บัณฑิต โดท่ีผู้เรียนจะต้องเลือกหัวข้อเรื้อองท่ีทาด้วยตนเอง และผู้เรียนจะต้อง ทำการค้นคว้าอย่างละเอียดลึกซึ้ง มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา ค้นคว้า การตั้งสมมติฐาน การค้นคว้าพยานเอกสารหลักฐานเพื่อมาพิสูจน์หรือ สนับสนุนสมมติฐาน มีการสรุปผลของการศึกษาค้นคว้าและการอภิปรายผล

รายงาน (Report)

เป็นผลท่ีได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย มีการเรียบเรียง ตามระเบียบข้ันตอนทางวิชาการ ตามรูปแบบการเขียนรายงาน

การอ้างอิงเอกสาร

การบอกแหล่งท่ีมาของข้อมูลท่ีผู้เขียนนามาใช้อ้างอิง ในการเขียนผลงาน เพื่อเป็นการแสดงหลักฐานท่ีจะทาให้งานเขียนนั้นมีความน่าเช่ือถือเป็น การให้เกียรติแก่ผู้เขียนเดิม และแสดงเจตนาของผู้เขียนว่าไม่ได้คัดลอกข้อมูลของผู้อ่ืนโดยไม่มี การอ้างอิง

บรรณานุกรม

รายช่ือเอกสารท่ีผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียง รายงานเรื่องน้ัน ๆ ทั้งที่ได้เขียนรายการอ้างอิงไว้ในส่วนเน้ือเรื่อง และเอกสารท่ีไม่ได้ใช้อ้างอิง ในส่วนเนื้อเรื้องแต่ได้อ่านประกอบในการเรียบเรียง นำมาใส่ไว้ท้ายรายงาน เพราะคาดว่า อาจจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านอื่น

ส่วนประกอบรายงาน

ส่วนนำ

หมายถึง ส่วนที่อยู่ต้นเล่มของรายงาน ก่อนถึงเนื้อเรื่อง

ปกนอก (Cover)

ส่วนท่ีเป็นปกหุ้มรายงานทั้งหมดมีท้ังปก หน้าและปกหลัง

หน้าปกใน (Title page)

ส่วนที่อยู่ต่อจากหน้าปกนอก นิยมเขียนเหมือนปกนอก

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)

เป็นข้อความ แสดงความขอบคุณผู้ช่วยเหลือ สนับสนุนและให้ความร่วมมือใน การค้นคว้าเพื่อทารายงาน แสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการท่ี ผู้ทำรายงานทางวิชาการควรถือปฏิบัติ

คำนำ (Preface)

ส่วนที่อยู่ถัดจากหน้าปกใน ผู้เขียน รายงานเป็นผู้เขียนเอง โดยกล่าวถึงวัตถุประสงค์และขอบเขต ของรายงาน ตลอดจนคาขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการ รวบรวมข้อมูล

สารบัญ (Table of contents)

เรียงตามลาดับเรื่อง และท้ายสุดเป็น รายการอ้างอิงท่ีใช้ประกอบการเรียบเรียงรายงาน

ส่วนเน้ือเรื่อง (Body of contents)

หมายถึงส่วนท่ีอยู่ต่อจากส่วนนำ เป็นส่วนท่ีสำคัญท่ีสุดของรายงานส่วนเน้ือเรื่องจะประกอบด้วยบทนำเน้ือเรื่องและสรุป

บทนำ (Introduction)

ต่างจากคำนำคือการเขียนบทนำ จะต้องอธิบายเนื้อหาอย่างกว้างๆ เป็นการนำผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่องหรือเนื้อหาของรายงานให้ผู้อ่านเข้าใจในเบื้องต้น

เน้ือเรื่อง (Content)

ส่วนที่เสนอเรื่องราวสาระท้ังหมด ของรายงานตามลาดับของหัวข้อท่ีระบุไว้ในหน้าของสารบัญ ใน การนาเสนอเนื้อเรื่องต้องไม่ใช่เป็นการคัดลอกข้อความจาก เอกสารต้นเรื้องงท่ีอ่านมาทุกประโยคทุกตอน แต่ผู้เขียนจะต้อง เขียนจากความรู้และความคิดของตนเองบ้าง

สรุป (Conclusion)

ส่วนท่ีเขียนย้ำหรือนำเสนอประเด็นสำคัญของเนื้อเรื่อง ส่วนสรุปน้ีจะอยู่ในย่อหน้าสุดท้ายของเนื้อเรื่อง

ส่วนอ้างอิง (Citation)

หมายถึง ส่วนที่แสดงหลักฐานประกอบการ ค้นคว้า และการเขียนรายงานเพื่อให้ทราบว่าผู้ทารายงานได้ค้นคว้ามาจากแหล่งใดบา้ ง

บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง (References)

ส่วนท่ีรวบรวมรายช่ือ หนังสือ สิ่งพิมพ์อื่นๆ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนวิธีการท่ีได้ข้อมูลมาเพื่อประกอบการเขียนรายงานเรื้องงนั้นๆ

ภาคผนวก (Appendixes)

ภาคผนวกเป็นส่วนที่ให้ รายละเอียดเพิ่มเติมช่วยให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจชัดเจนขึ้น เช่น แบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณ์ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

การคัดลอกความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง (Plagiarism)

การอ้างอิงเอกสาร เป็นจรรยาบรรณท่ีจาเป็นในวงวิชาการ เป็นการให้เกียรติกับ เจ้าของผลงานเดิม

การลอกเลียนความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง ถือเป็นการกระทำผิดจรรยาบรรณร้ายแรงในวง วิชาการ

ประโยชน์

สารสนเทศและความรู้

สารสนเทศทาให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ โดยเปลี่ยนแนวคิดที่ว่า การสอน คือการบอก (Teaching is telling) การเรียน คือการดูดซับ (Learning is absorbing) และ ความรู้คือสิ่งที่อยู่นิ่ง (Knowledge is static) ไปเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ที่ นอกเหนือจากหนังสือหรือตาราเรียน

การทำรายงาน

ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติ

ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ

ช่วยให้ทราบข้อมูลท่ีแท้จริง รวมท้ังข้อบกพร่อง เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาหรือ
นำมาใช้พัฒนาการปฏิบัติงาน

ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา

เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการ
สร้างสรรค์ผลงานวิชาการอื่นๆต่อไป

ขั้นตอนการเขียนรายงาน

เลือกและกาหนดหัวข้อการทำรายงาน (Choose the topics)

ความสนใจของผู้ทำรายงาน

ความรู้ในเรื้องท่ีทำรายงาน

แหล่งข้อมูลในการค้นคว้า

หัวข้อท่ีเหมาะสม

อ่านข้อมูลของเน้ือหาวิชาเพื่อเป็นพื้นฐานความรู้ (Reading for Background) และกำหนดวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน (Report objectives)

การอ่านข้อมูลของเนื้อหารายงานที่จะเขียนเป็นสิ่งจำเป็น ผู้เขียนรายงานจะต้องอ่านเนื้อหาวิชาการท่ีจะเขียนอย่างกว้างๆ ก่อน โดยอ่านและค้นคว้าจากแหล่งสารสนเทศทุกประเภท ทั้งสื่อส่ิงพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลังจากได้หัวข้อรายงานท่ีเหมาะสมแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการกำหนดวัตถุประสงค์ของรายงาน ผู้ทำรายงานจะต้องรู้ว่าต้องการทราบอะไร

เพื่อเป็นแนวทางในกำหนดทิศทาง ขอบเขต และโครงเรื่องของรายงาน และเพื่อช่วยตัดสินใจในการเลือกแหล่งข้อมูลสำหรับการค้นคว้า

การจัดทำเค้าโครงรายงาน (the Preliminary Outline)

การแบ่งเน้ือหาของรายงานตาม รายละเอียดท่ีกล่าวไว้ในขอบเขต รายงาน ผู้เขียน

การแบ่งเน้ือหาของรายงานตาม รายละเอียดท่ีกล่าวไว้ในขอบเขต รายงาน ผู้เขียน ควรพิจารณานึกถึง ส่วนประกอบของตัวเอกสาร ต่อไปนี้ คือ ส่วนนำ หรือ ส่วนประกอบ ตอนต้น ส่วนเนื้อเรื้อง หรือ ส่วนประกอบตอนกลาง ส่วนอ้างอิง หรือส่วนประกอบตอนท้าย

รวบรวมบรรณานุกรม (The working bibliography)

ควรจัดทำรายชื่อหรือบรรณานุกรมไว้ให้ถูกต้อง ตามแบบแผน ขั้นตอนต่อไปผู้ทำรายงานต้องคัดเลือก อ่าน และบันทึก ข้อมูลที่มีเน้ือหาสาระตรง หรือสอดคล้องกับโครงเรื่องที่กาหนดไว้

การอ่านและจดบันทึก (Reading and Notes)

ขณะที่อ่านต้องพิจารณาว่า ข้อความใดสำคัญบ้างให้ขีดเส้นใต้ข้อความนั้น เดื้อให้ได้เน้ือเรื่องย่อของ แต่ละตอน รวมเป็นเน้ือเรื่องยาวของแต่ละบท เป็นต้น

การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ (Using sources of Information)

วิธีการจัดพิมพ์ รายการบรรณานุกรมประกอบ ให้ใช้หนังสืออ้างอิงให้มากท่ีสุด และควร ใช้แหล่งสารสนเทศจากหนังสือ ตารา บทความวารสาร อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลและแหล่งอื่นๆ เพิ่มเติม

การจัดทาโครงเรื่องครั้งสุดท้าย (The final outline)

การเรียบเรียงรายงาน (Writing and revising)

การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม (Write the Reference and Bibliography)

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Writing)

เป็นขั้นตอนสุดท้าย ของการสร้างผลงาน

การตรวจทานต้นฉบับ

การพิสูจน์อักษรท่ีสมบูรณ์

ตรวจสอบแหล่งที่มาของ ข้อมูล ตรวจสอบการอ้างอิง และการ เขียนบรรณานุกรม

การอ้างอิงเอกสาร (Citations)

การอ้างอิงเอกสารในส่วนเน้ือเรื่อง

การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายของรายงาน

การเรียงลำดับรายการอ้างอิง