รายงานเคสกรณีศึกษา (case study ) เคสชายไทย อายุ 87 ปี 7 เดือน
Chief complaint : ปวดสะโพกขวามาก 1 วันก่อนมา
present illness: 6 วันก่อนมาผู้ป่วยล้มป่วยสะโพกด้านขวามากปที่โดยรงพยาบาลหนองวัวซอได้รับยาแล้วกลับบ้าน 1 วันก่อนมา ปวดสะโพกขวามาก จึงมาที่โรงพยาบาลหนองวัวซออีก x-ray พบว่ากระดูกหัก จึง refer มาที่โรงพยาบาลอุดรธานี
การวินิจฉัยโรคแรกรับ closed fracture rigt femoral neck (ภาวะคอกระดูกต้นขาบริเวณสะโพกด้านขวาหักแบบปิด)
ผู้ป่วย closed fracture right femoral neck.
มีปัญหาเรื่องปวด
On Skintraction
3.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหวเช่นแผลกดทับ ท้องผูกผื่นแพ้พลาสเตอร์ ผิวหนังอักเสบ การกดทับเส้นประสาทที่ขา ข้อติด
S:ได้รับการถ่วงดึงกระดูกแบบ skin traction
S:ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยมีข้อจำกัดของการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดแผลกดทับท้องผูกกล้ามเนื้อฝ่อลีบข้อติดแข็งเวลาที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
1. ประเมินลักษณะผิวหนังทุก 4 ชั่วโมงและทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนท่านอนเช่นการมีรอยแดงการเกิดตุ่มพองตุ่มน้ำใสร้อนโดยเฉพาะบริเวณกระดูกหากพบมีรอยแดงจะต้องเปลี่ยนท่าให้ผู้ป่วยบ่อยขึ้น
2. จากท่าของผู้ป่วยตามหลักการถ่วงดึงกระดูกซึ่งต้องจัดขาให้ผู้ป่วยกลางออกเล็กน้อยเชือกมีปุ่มตุ้มน้ำหนักแขวนอยู่ในรอบและรอยอิสระน้ำหนักที่ใช้ถ่วงดึงตรงตามแผนการรักษา
3. วางขาบนหมอนและดูแลให้เท้ารอยอิสระเสมอหรืออาจจัดหาหมอนหรืออุปกรณ์วางด้านข้างขาสองด้าน
4. ประเมินลักษณะการกดเบียดที่เส้นประสาทขาได้แก่ภาวะเท้าตก กระดกข้อเท้าไม่ได้ ชา
6. กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทั้งออกกำลังกายชนิดผู้ป่วยทำเองและออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้หรือการออกกำลังกายชนิดที่ผู้ป่วยทำร่วมกับผู้ช่วยเหลือเช่นการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพการออกกำลังกล้ามเนื้อขาการฝึกกระดูกข้อเท้าขึ้นลงการหมุนข้อเท้าการฝึกเกร็งกล้ามเนื้อขาและน่อง
7. แนะนำการรับประทานอาหารที่มีกากใยได้แก่ผักผลไม้อาหารที่มีธัญพืชหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดท้องผูกรับประทานน้ำอย่างน้อยวันละ8แก้ว หรือ 2ลิตร
8. ดูแลให้ได้รับยาสวนเมื่อผู้ป่วยไม่ได้ขับถ่าย
เกณฑ์การประเมิน
-ไม่มีแผลกดทับเกิดขึ้นทุกตำแหน่งโดยเฉพาะบริเวณตำแหน่งปุ่มกระดูก
-ผู้ป่วยสามารถขยับตัวและแขนขาได้ตามความเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัด
-ขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระได้ตามปกติท้องไม่
การนอนหลับผู้รบกวน
4 ผู้ป่วยวิตกกังวลเนื่องจากนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลเป็นเวลานาน
S:ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568
S:ผู้ป่วยมาด้วยอาการปวดสะโพกขวามาก
S:ได้รับการถ่วงดึงกระดูกแบบ skin traction
O:ผู้ป่วย NPO ไป 2ครั้ง เพื่อผ่าตัดแต่ยังไม่ได้รับการผ่าตัดทั้ง 2รอบ
ผู้สูงอายุ 87 ปี
2.ผู้ป่วยและญาติขาดความรู้เกี่ยวกับการรักษาและการปฏิบัติตนขณะถ่วงดึงกระดูกแบบ skin traction
O: ผู้ป่วยและญาติซักถามวิธีปฏิบัติตัวเมื่อใส่เครื่องถ่วงดึงกระดูก
O:ผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุ
S:ได้รับการถ่วงดึงกระดูกแบบ skin traction
1.ผู้ป่วยปวดเนื่องจากกระดูกหัก
S: แพทย์ Dx. closed fracture right femoral neck.
S:On Skin traction ที่ขาข้างขวา
S:บ่นปวดแผล
O:Pain scale 5/10
O:สีหน้าแสดงอาการเจ็บปวดเวลาเคลื่อนไหวร่างกาย
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่ปวดบริเวณกระดูกหัก
1.ประเมินความเจ็บปวดโดยใช้แบบประเมินความปวด pain scale เช่น numerical/rating scale
2.ประเมินอาการที่แสดงต่อความเจ็บปวดเช่นสีหน้าคำพูดท่าทางที่แสดงถึงความเจ็บปวดปวด
3.วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง เมื่อสังเกตประเมินอาการผิดปกติ
4.สอนให้ใช้เทคนิคผ่อนคลาย(relax technique) เช่นการบริหารการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดควาตึงตัวของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวด
5.ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา observe อาการข้างเคียงหลังจากได้ยา Tramadol 50 mg oral ครั้งละ 1เม็ด 3 ครั้งหลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
6.แนะนำให้ทำกิจกรรมที่ชอบและเหมาะสมตามพยาธิสภาพของโลกเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจและให้เกิดความผ่อนคลาย
7.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอโดยดูแลเรื่องไฟและทำหัตถการในคราวเดียวกันเนื่องจากการนอนพักผ่อนจะส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนที่มีผลต่อการติดกันของกระดูก
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยไม่บ่นปวดเวลาเคลื่อนไหวร่างกาย
-ระดับความปวดลดลงน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 คะแนน
-หน้าผู้ป่วยยิ้มแย้มแจ่มใส
-ผู้ป่วยพักผ่อนได้เพียงพอ
-BP อยู่ในระดับ ไม่ควรเกิน 160/95 mmHg
- V/S Stable โดยเฉพาะค่า BP
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจและความสามารถปฏิบัติตนเกี่ยวกับการรักษาและการปฏิบัติตนขณะถ่วงดึงกระดูกแบบ Skin traction
1. ประเมินระดับความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนเกี่ยวกับการรักษาและการปฏิบัติตนขณะถ่วงดึงกระดูกแบบ Skin traction
2. ให้ความรู้และดูแล Skin traction ให้เป็นไปตามหลักการถ่วงดึงกระดูก ได้แก่
2.1 Counter traction คือ แรงต้านในทศทางตรงกันข้าม ซึ่งจะต้องมีทุกครั้ง ในขณะที่ผู้ป่วยใส่ traction ถ้าไม่มีแรงต้านนี้ตัวผู้ป่วยจะถูกดึงไปตามแนวแรงดึงและแรงโน้มถ่วง จึงไม่สามารถเอาชนะความหดเกร็งของ
กล้ามเนื้อได้ ดังนั้นเพื่อให้เกิดผลดีต่อการรักษา ขาจะต้องมี Counter traction ซึ่งทาได้โดยการยกปลายเตียงให้สูงขึ้นเล็กน้อย
2.2 Continuous traction เป็นแรงดึงอยู่ตลอดเวลา จึงไม่ควรปลดลูกตุ้มน้าหนักออก ยกเว้นการดึงเพื่อแก้ไขความพิการหรือดึงให้ผู้ป่วยปวดหลัง สาหรับผู้ป่วยที่กระดูกหัก ถ้าปลดตุ้มน้าหนักที่ถ่วงออกผู้ป่วยจะเจ็บปวด กระดูกอาจเกยกันและเกิดอันตรายได้
2.3 ตรวจประสิทธิภาพของเครื่องมือเสมอว่าคงที่ดีหรือไม่ เช่น มีการหลวม หลุดลุ่ย หรือบีบรัดแน่นของผ้า พันหรือไม่มีการเคลื่อนของ pin หรือไม่
2.4 สังเกตและซักถามอาการบวม ปวด ระคายเคืองของผิวหนัง ในผู้ป่วยที่ใส่ skin traction ทุกวัน สาหรับ ผู้ที่ใส่ skeletal traction ต้องสังเกตว่ามีอาการ บวม ปวด แดง ร้อน กดเจ็บ หรือมีสิ่งคัดหลั่งซึมบริเวณ wrie หรือ pin หรือไม่ ตรวจดูทุกวันว่าบริเวณโคนขา หรือขาหนีบมีแผลกดทับหรือไม่ และส้นเท้าต้องลอยเพื่อป้องกันแผลกดทับ
2.5 กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้มีการบริหารกล้ามเนื้อและข้อต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอทั้ง Active และ passive exercise ป้องกันกล้ามเนื้อลีบและข้อยึดติด
เกณฑ์การประเมิน
-ลักษณะของขาวางขาให้กลางออกเล็กน้อย
-ต้มน้ำหนักแขวนอยู่ในละลอกและรอยอิสระตลอดเวลาไม่แตะพื้น
-ปลายเท้าไม่แตะขอบเตียง
-น้ำหนักที่ใช้ถ่วงดึงตรงตามแผนการรักษาของแพทย์
-ไม่เกิดอันตรายใดๆขณะทำกิจวัตรประจำวัน
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่วิตกกังวลหรือวิตกกังวลน้อยลง
1.ประเมินความรู้สึกการแสดงออกของผู้ป่วยทั้งคำพูดและพฤติกรรม
2.แจ้งความจำเป็นของทางโรงพยาบาลที่การผ่าตัดเลื่อนออกไปแลตอบคำถาใข้ที่ผู้ป่วยและญาติมีข้อสงสัย
3.พูดคุยกับผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลอ่อนโยนและรับฟังผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยต้องการพูดไม่แสดงทีท่าเร่งรีบหรือรังเกียจ
4.ไม่ตำหนิผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยทำอะไรผิดพลาด
5.ให้กำลังใจผู้ป่วยพูดให้ผู้ป่วยเห็นความสามารถของตนเองและะส่งเสริมให้ผู้ป่วยอยู่รอคิวการผ่าตัดถึงจะนานแต่เป็นการรักษาที่ดีที่สุด
6 ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวให้ครอบครัวมีความเข้าใจผู้ป่วยและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความรู้สึกของ ผู้ป่วยให้มากขึ้น หาเวลาว่างมาเยี่ยมผู้ป่วยบ่อยๆ
7.แนะนำญาติให้กำลังใจและให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยซึมเศร้าลดลงไม่เงียบเฉยพูดคุยมากขึ้นสีหน้าสดใสยิ้มแย้ม นอนหลับพักผ่อนเพียงพอ รับประทานได้ไม่เบื่ออาหา
ดื่มน้ำน้อย
ไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย
ท้องผูก
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อผู้ป่วย: นายทอง ชัยคิริน อายุ: 87 ปี 7 เดือน เพศ: ชาย
สถานภาพ: สมรส เชื้อชาติ: ไทย สัญชาติ: ไทย ศาสนา: พุทธ
ระดับการศึกษา: ประถมศึกษาปีที่ 4 อาชีพ: ได้รับเงินจากเบี้ยผู้สูงอายุ รายได้: 800บาท/เดือน
ภูมิลำเนา: อำเภอหนองวัวซอ จังหวัด: อุดรธานี
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล: 13 กุมภาพันธ์ 2568
วันที่รับไว้ในความดูแลตั้งแต่วันที่:
การวินิจฉัยโรคแรกรับและความหมายการวินิจฉัย closed fracture rigt femoral neck (ภาวะคอกระดูกต้นขาบริเวณสะโพกด้านขวาหักแบบปิด)
กลไกลการเกิดโรค พยาธิสภาพของโรค
Pathophysiology
1.สาเหตุของการเกิดกระดูกหักผู้สูงอายุ (Elderly): เกิดจากภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis) ทำให้กระดูกเปราะบางและแตกง่าย แม้ได้รับแรงกระแทกเพียงเล็กน้อย เช่น การหกล้ม
2.ชนิดของการหัก (Type of Femoral Neck Fracture)
แบ่งตามตำแหน่งการหัก ได้แก่
-Subcapital Fracture: ใกล้หัวกระดูก (Femoral Head)
-Transcervical Fracture: กลางคอกระดูก
Basal Fracture: บริเวณฐานของคอกระดูก
3.กลไกการบาดเจ็บ (Mechanism of Injury)เกิดจากแรงกระแทกโดยตรงที่สะโพก
การล้มลงในท่าขาข้างนั้นรับน้ำหนักโดยตรง
การบิดหมุนอย่างรุนแรง
4.อาการทางคลินิก (Clinical Manifestations) ปวดรุนแรงบริเวณสะโพกหรือขาหนีบ ขาข้างที่หักมีลักษณะ สั้นกว่า อีกข้าง ขาบิดหมุนออกด้านนอก (External Rotation) ไม่สามารถยืนหรือเดินได้ กดเจ็บบริเวณขาหนีบ
สรุป
Closed Fracture Right Neck Femur เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และเสี่ยงต่อการเกิด Avascular Necrosis หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม การรักษาโดยการผ่าตัดและการฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องจะช่วยเพิ่มโอกาสในการฟื้นตัวและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว
การรักษา
1.การผ่าตัด (Surgical Treatment)
Internal Fixation (การใส่สกรูหรือเหล็กดาม)
Hemiarthroplasty (เปลี่ยนหัวกระดูกสะโพก)
Total Hip Replacement (เปลี่ยนข้อสะโพกทั้งหมด)
2.การดูแลแบบไม่ผ่าตัด (Conservative Treatment)
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงต่อการผ่าตัด
การดึงกระดูก (Skin Traction หรือ Skeletal Traction)
3.การทำกายภาพบำบัด (Physical Therapy) ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ฟื้นฟูการทำงานของขา
ยากับวิธีใช้
Tamadol 50 mg 1*3 pc
การให้ยา : เด็กอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่ ให้รับประทานในปริมาณ 50–100 มิลลิกรัม ทุก 4–6 ชั่วโมง โดยปริมาณสูงสุดใน 1 วันไม่ควรเกิน 400 มิลลิกรัม
Paracetamol 500 mg PNR
การให้ยา : ในผู้ใหญ่สามารถใช้ได้ในขนาด 500 มก. ครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก 4-6 ชม. แต่ไม่ควรใช้เกินวันละ 4 ก. หรือ 8 เม็ด ในเด็กที่อายุน้อยกว่า 16 ปีจำเป็นต้องลดขนาดการใช้ลง ขึ้นอยู่กับอายุและน้ำหนัก
unison enema 100 ml PNR
การให้ยา : เริ่มจากนอนตะแคงซ้ายและยกเข่าขวาขึ้นไปที่หน้าอก จากนั้นสอดปลายหลอดยาสวนเข้าทางรูทวารอย่างเบามือ ค่อย ๆ บีบยาเข้าไปจนหมดหลอดและดึงหลอดยาออก ค้างท่าเดิมและกลั้นยาไว้ โดยอาจเริ่มรู้สึกอยากขับถ่ายหลังจากใช้ยาประมาณ 2–15 นาที