นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition Knowledge Society)

Fő topik

1.นิยามหรือความหมายของสังคม(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้หมายถึงสังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจากความรู้ที่มีบุคลากรทางานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

2.ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุคคือ

2.1สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ่านาจอยู่ด้วยกันเกิดการผลิตมีความสามารถในการแข่งขันกลไกตลาดและความอยู่รอดซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ5ด้านดังนี้

Knowledge Access คือการเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

Knowledge Validation คือการประเมินความถูกต้องของความรู้

Knowledge Valuation คือการตีค่าการตีความรู้

Knowledge Optimization คือการทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

Snowledge Dissemination คือการกระจายความรู้

2.2สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียงบูรณาการประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

Fő topik

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้ topic

3. 1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

3. 2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3. 3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

3. 4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่มสำเนินการ (Key Institutions)

3. 5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

3. 6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

3. 7มิภาคีเครือข่ายที่ร่วมดาเนินการอย่างต่อเนื่อง

3. 8 การเริ่ม / การเปลี่ยนแปลงมือยู่ตลอดเวลา

3. 9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

3. 10 ความรับผิคขอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนรวมกัน

3. 11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

5. กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

1. การบ่งชี้ความรู้

2.การสร้างและแสวงหาความรู้

3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้

5. การเข้าถึงความรู้

6. การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

Explicit Knowledge อาจจะจัดท่าเป็นเอกสารฐานความรู้

Tacit Knowledge จัดทำเป็นระบบท็มข้ามสายงาน

7. การเรียนรู้ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

4. ความรู้ (Knowledge)

4. 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ“ ความรู้

1.ข้อมูล(Data)

2.ความหมายของสารสนเทศ(Information)

สารสนเทศหมายถึงข้อมูลข่าวสารข้อเท็จจริงความรู้ต่างๆที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน่ามาใช้ประโยชน์ได้

4. 2 ความหมายของความรู้

ความรู้หมายถึงความเข้าใจในเรื่องบางเรื่องหรือสิ่งบางสิ่งซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน่าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการโดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูลสารสนเทศการศึกษาประสบการณ์ต่างๆสะสมในอดีต

4. 3 ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีต่างๆ