ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of R...- Mind Map

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of Research)

บทสรุป
โดยสรุปแล้วการวิจัย คือการแสวงหาความรูอยางเปนระบบ ซึ่งจะน าเสนอตามวัตถุประสงค
ที่ผูวิจัยไดกำหนด ซึ่งเปนประโยขน์ การศึกษาคนควาของตนเอง หรือองคกร เปนการตอบ
ปรากฏการณ์สภาพการ การแกปญหา หรือการประเมิน

จรรยาบรรณของนักวิจัย
คณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ ได้กำหนดจรรยาบรรณนักวิจัยขึ้นเพื่อใช้เป็นแนว
หลักเกณฑ์ ควรประพฤติของนักวิจัยทั่วไปไม่ว่าสาขาวิชาการใด โดยให้มีลักษณะเป็นข้อพึงสังวร
คุณธรรม และจริยธรรมในการทำงานวิจัยของนักวิจัยไทย

การเขียนคำถามวิจัย (Research Questions)
การเขียนคำถามการวิจัย จะเป็นจุดเริ่มต้นในการท าวิจัยที่มีความสำคัญ ช่วยเป็นแนวทางใน
การทำวิจัย แต่ผู้วิจัยมักจะมีปัญหาสงสัยไม่ทราบว่าจะตั้งค าถามวิจัยอย่างไร มีวิธีการเขียนที่ชัดเจนอย่างไร

ตัวแปรและสมมติฐาน

1. ความหมายของตัวแปรตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

2. ลักษณะและชนิดของตัวแปร
2.1 ลักษณะของตัวแปร 1) ตัวแปรรูปธรรม (Concept) 2) ตัวแปรนามธรรม (Construct) 2.2 ชนิดของตัวแปร ตัวแปรทั้ง 2 ลักษณะที่กล่าวมานี้ 1) ตัวแปรอิสระ (independent variable) 2) ตัวแปรตาม (dependent variable) 3) แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน 4) ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)

3. การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
3.1 การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง 3.2 การนิยามตัวแปร

4. สมมติฐาน
สมมติฐาน (hypothesis) คือ คำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาที่
ศึกษา หรือการเดาที่ใช้ห
ลักเหตุผลใช้ปัญญา

5. ประเภทของสมมติฐาน
สมมติฐานแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
5.1 สมมติฐานทางวิจัย (research hypothesis)

6. แหล่งที่มาของสมมติฐาน 6.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.2 การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ 6.3 ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย ที่ได้ท างานคลุกคลีกับเรื่องนั้นมาก่อน

7. ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
ลักษณะของสมมติฐานที่ดีควรมีลักษณะดังนี 7.1 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย 7.2 อธิบายหรือตอบคำถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน 7.3 ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว 7.4 สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง7.5 ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7.6 เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง
7.7 สามารถตรวจสอบได้
7.8 มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้าง
7.9 มีอ านาจในการพยากรณ์ สมมติฐานที่ดีควรมีอ านาจในการพยากรณ์สูง

การจัดกระทำข้อมูล

1) Input 2) Processing 3) Output 4) การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน

ขั้นตอนในการวิจัย

1) เลือกหัวข้อปัญหา 2) การกำหนดขอบเขตของปัญหา 3) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4) การกำหนดสมมุติฐาน 5) การเขียนเค้าโครงการวิจัย 6) การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล 7) ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

6. ประเภทของการวิจัย

6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้

6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research) เป็น
การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาความรู้ความจริงเชิงทฤษฎี/ปรากฏการณ

6.1.2 การวิจัยการนำไปใช้(Applied Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ใน การนำผลการวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้ในปัจจุบัน ตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น

6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี

6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)

6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)

6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology) จจำแนกได้2 ลักษณะ ดังนี้

6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research)

6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)จำแนกเป็นประเภทย่อย ๆ 3 ลักษณะ มีดังนี้

2.1 การวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research)

6.3.2.2 การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies)

6.3.2.3 การศึกษาพัฒนาการ(Developmental Studies)จำแนกได้2 ลักษณะ ดังนี้

1) การศึกษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies)

2) การศึกษาแนวโน้ม(Trend Studies)

6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์ จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี

6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research)

6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research)

6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัยจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้

6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research)

6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)

6.6จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย จำแนกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้

6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research)

6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented
Research)

6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented
Research)

6.7 ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำจำแนกเป็น 3 ลักษณะ

6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research)

6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research)

6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง(True Experimental Research)

1. ความหมายของการวิจัย (Meaning of Research)

การวิจัย หมายถึง การใช้ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่สำหรับการศึกษา ค้นคว้าความรู้ใหม่ด้วยวิธีการ ที่เป็นระบบ

การวิจัย เป็นกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างมีระบบ
ระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนเพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได

สรุปได้ว่าการวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจาก
อคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยน ามาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อน าไปใช้อธิบาย
ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี

การวิจัย หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยใช้อุปกรณ์หรือ
วิธีการ เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง

วิจัย หมายถึง การศึกษาปรากฏการณ์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ข้อมูล เชิง
ประจักษ์ที่นำมาทดสอบสมมุติฐาน

2. จุดมุ่งหมายของการวิจัย

จุดมุ่งหมายของการวิจัยมีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้

2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาค าตอบเพื่อนนำมาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล

3. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

มีจุดมุ่งหมายเพื่ออธิบาย พยากรณ์ หรือควบคุมปรากฏการณ์โดยใช้วิธีการทางสถิติเพื่อให้เกิดผลสรุปที่ถูกต้อง ชัดเจน ในการทำเข้าใจที่สอดคล้องกันและเกิดความเชื่อมั่น

3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า
ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของ
ตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน

3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ใน
การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น

3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่
ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า
ในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น

4. คุณลักษณะของการวิจัย

4.1 การวิจัย เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย ที่เป็นการค้นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล

4.2 การวิจัย เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถน าไปใช้อ้างอิงหรือคาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

4.3 การวิจัย มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกตหรือข้อมูลเชิงประจักษ์

4.4 การวิจัยจ าเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน

4.7 การวิจัยจะต้องเป็นการด าเนินการโดยใช้ความรู้ความช านาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้
ปัญหาที่ตนเองจะทำวิจัย

4.5 การวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในการตอบคำถามตามจุดประสงค์ใหม

4.6 การวิจัยจะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่จะทำให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ

4.8 การวิจัย จะต้องก าหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม

4.9 งานวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการแสวงหาคำตอบที่นำมาใช้ตอบค าถามของปัญหาที่ ยังไม่สามารถแก้ไขได้

4.10 การวิจัย เป็นกิจกรรมที่จะต้องด าเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และจะต้องยอมรับ/เผชิญอุปสรรคในวิธีการได้มาของค าตอบในการวิจัย

4.11 การวิจัย จะต้องมีการจดบันทึกข้อมูล และจัดท ารายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวังในการใช้คำที่มีความหมาย

สรุปได้ว่า การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการก าหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร

5.ธรรมชาติของงานวิจัย

5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาค าตอบที่ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง

5.2 การวิจัยเป็นการด าเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์

5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ

5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัย ใด ๆ จำเป็นต้องมีความเที่ยงตรง

5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงวาใน การดำเนินการวิจัย

5.6 การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนใน การดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง

5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา

5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบค าถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ

5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการด าเนินการวิจัยที่ให้ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธีการตามความเหมาะสมของปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ หรือการดำเนินการวิจัย

5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย หมายถึง การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องดำเนินการโดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ

Click here to center your diagram.
Click here to center your diagram.