ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of R...- Mind Map

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of Research)

จรรยาบรรณของนักวิจัย

นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย

นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย

นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย

นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย

นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด

นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพร่ผลงานวิจัย

นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น

นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ

ความหมายของการวิจัย (Meaning of Research)

กระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได้

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

เป้าหมายของการวิจัย

การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎเหตุและผลของธรรมชาติ (Deterministic Law of Nature)

กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ (Systematic Law of Nature)

กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ (Associative Law of Nature)

กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ (Principle Component of Nature)

กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ (Probabilistic Law of Nature)

คุณลักษณะของการวิจัย

การวิจัย เป็นวิธีการๆหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ความจริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบ และขั้นตอนชัดเจน และมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาคำตอบ เพื่อใช้อธิบาย พยากรณ์ และควบคุมปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ

ธรรมชาติของการวิจัย

การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ

การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity)

การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability)

การวิจัยมีเหตุผล

การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา

การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย

การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

ประเภทของการวิจัย

จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic Research or Pure Research)

การวิจัยการนำไปใช้ (Applied Research)

จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล

การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)

จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย (Methodology)

การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research)

การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research)

จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Research)

การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Social Research)

จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย

การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น (Cross-section Research)

การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)

จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย

การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร (Descriptive-Oriented Research)

การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Correlation-Oriented Research)

การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร (Causal-Oriented Research)

ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำ

การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น (Pre Experimental Research)

การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research)

การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง (True Experimental Research)

การเขียนคำถามวิจัย (Research Questions)

ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา

ประเด็นคำถามเชิงความสัมพันธ์

ประเด็นคำถามเชิงเปรียบเทียบ

ตัวแปร
และสมมติฐาน

ตัวแปร

ความหมายของตัวแปร

คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่างๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้

ตัวแปรจะต้องมีค่าเปลี่ยนได้อย่างน้อยตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป

ลักษณะและชนิดของตัวแปร

ลักษณะของตัวแปร

ตัวแปรรูปธรรม (Concept)

ตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะ ที่คนทั่วไปรับรู้ได้ตรงกันหรือสอดคล้องกัน

เพศ

อายุ

ตัวแปรนามธรรม (Construct)

ตัวแปรที่แสดงความหมายใน ลักษณะเฉพาะตัวบุคคล คนทั่วไปอาจรับรู้ได้ตรงกันหรือไม่ตรงกันก็ได้

แรงจูงใจ

ทัศนคติ

ชนิดของตัวแปร

ตัวแปรอิสระ (independent variable)

ตัวแปรตาม (dependent variable)

แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน (extraneous variable)

ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)

การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

อาศัยทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

อาศัยข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล (empirical approach)

เลือกกลุ่มตัวอย่างที่คาดว่ามีคุณลักษณะสอดคล้องกับลักษณะของตัวแปรที่ศึกษา

หาคุณลักษณะ (attribute) ที่สำคัญจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ

นำคุณลักษณะที่ราบรวมได้มาวิเคราะห์เนื้อหา เพื่อหาองค์ประกอบสำคัญของตัวแปรนั้น

การนิยามตัวแปร

การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ (Constitutive definition)

นิยามในลักษณะปฏิบัติการ (Operational definition)

คุณลักษณะหรือองค์ประกอบของตัวแปร

พฤติกรรมที่แสดงออก

สถานการณ์ หรือสิ่งเร้าที่เหมาะสม

เกณฑ์ที่เป็นเครื่องชี้บ่งว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้น มีความหมาย เช่นใด เป็นที่ต้องการหรือไม่ต้องการ

สมมติฐาน

ลักษณะของสมมติฐาน

เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้
และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ

ประเภทของสมมติฐาน

สมมติฐานทางวิจัย (research hypothesis)

สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)

สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis)

แหล่งที่มาของสมมติฐาน

การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ

ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย

การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ

การสังเกตพฤติกรรม

ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย

อธิบายหรือตอบคำถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน และอยู่ในรูปแบบที่สามารถลงสรุปได้ว่าจะสนับสนุนหรือคัดค้าน

ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว

สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง

ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง

สามารถตรวจสอบได้

มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป

มีอำนาจในการพยากรณ์

การจัดกระทำข้อมูล

Input

เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์

การบันทึกรอยคะแนนข้อมูล

การลงรหัสข้อมูล

Processing

เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล

การวิจัยเชิงคุณภาพ

การวิจัยเชิงปริมาณ

Output

เป็นขั้นตอนที่นำผลจากขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processing มาเขียนเป็นรายงาน

การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน

บทนำ

การตรวจสอบเอกสาร

วิธีการดำเนินการวิจัย

กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง

วิธีการสุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล

ขั้นตอนการด าเนินการรวบรวมข้อมูล

วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ขั้นตอนในการวิจัย

เลือกหัวข้อปัญหา

การกำหนดขอบเขตของปัญหา

วางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสม

รู้ถึงเทคนิคต่างๆ ที่เหมาะสมในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลตลอดจนการแปลผลการวิจัย

มองเห็นภาพอย่างแจ่มชัดว่าจะต้องท าอะไรบ้าง

การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ช่วยให้ไม่เกิดการซ้ำซ้อนในการวิจัย

ช่วยให้กำหนดขอบเขตของการทำวิจัยได้ถูกต้องชัดเจน (กรอบแนวคิด)

ได้แนวทางในการกำหนดสมมุติฐาน (กรณีที่มีสมมุติฐาน)

ได้แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล

ได้แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง

ได้แนวทางในการใช้ค่าสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

ได้แนวทางการแปลผลการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย

การกำหนดสมมุติฐาน

การเขียนเค้าโครงการวิจัย

ชื่องานวิจัย

ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหา

วัตถุประสงค์

ขอบเขตของการวิจัย

ตัวแปรต่าง ๆ ที่วิจัย

คำนิยามศัพท์เฉพาะ (ในกรณีที่จำเป็น)

สมมุติฐาน (ถ้ามี)

วิธีดำเนินการวิจัย

รูปแบบของงานวิจัย

การสุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

แผนการทำงาน

งบประมาณ

การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะดำเนินการรวบรวมข้อมูล

ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

การใช้แบบทดสอบ

การใช้แบบวัดเจตคติ

การส่งแบบสอบถาม

การสัมภาษณ์

การสังเกต

การใช้เทคนิคสังคมมิติ

การทดลอง

การจัดกระทำข้อมูล (Data Processing)

Click here to center your diagram.
Click here to center your diagram.