สังคมความรู้ (Knowleadge Society)
ความหมายของสังคมความรู้
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักาะความรู้สูง
ความรู้
ความรู้ทั่วไป
ความหมายของข้อมูล
Ackoff
(1989)
สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
พรธิดา
(2547)
ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงาน
ประจำวัน
วิจารณ์
(2546)
ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือ
ข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่ง
ประสิทธิ์
(2549)
บันทึกที่แสดงความ
เป็นไปหรือเป็น
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
เหตุการณ์หนึ่งๆ
ข้อมูลแบ่งเป็น 5 ประเภท
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data)
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)
3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)
4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)
5) ข้อมูลเสียง (Voice Data)
ความหมายของสารสนเทศ
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ
คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) กล่าวว่า
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ถูกมนุษย์วิเคราะห์และ
ตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล เนื่องจากสามารถ
สื่อความหมายได้โดยมีความครอบคลุมที่กว้างกว่า
Turban (2006) กล่าวว่า สารสนเทศ คือ
ข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมาย
แล้วมีคุณค่าต่อผู้รับเพื่อการน าไปใช้งาน
Orna (1998) กล่าวว่า สารสนเทศ คือ การ
ถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป
ยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบโสตวัสดุและทัศน
วัสดุ สิ่งตีพิมพ์ สุนทรพจน์ หนังสือ บทความ
รายงานการประชุม หรือฐานข้อมูล
ประเภทความรู้
1) Tacit Knowledge ค
2) Explicit Knowledge ค
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
1) ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
2) เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3) ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
4) สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
5) มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
6) มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
7) มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
8) การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
9) สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
10) ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
11) ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ยุคของสังคมความรู้
สังคมความรู้ยุคที่ 1
1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้
3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้
4) Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้
สังคมความรู้ยุที่ 2
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
กระบวนการจัดการความรู้
1.การบ่งชี้ความรู้
2.การสร้างและแสวงหาความร
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้