สังคมความรู้ (Knowledeg Society)

กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย

การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่นการแสวงหาความรู้จากภายนอก

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เพื่อการเก็บความรู้เป็นระบบสะดวกต่อการเรียกใช้งาน

การประเมินและการกลั่นกรองความรู้ั เช่น การปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม

การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู็ใช้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก

การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ อาจจะจดทำเป็นเอกสาร หรือจัดทำเป็นระบบ

การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นนำความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง

ความรู้ (Knowledge)

1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "ความรู้"

1.1 ความหมายของข้อมูล (Data)

คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ
ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์

1.2ความหมายของสารสนเทศ (Information)

คือ ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์

2.ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)

หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง
บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ

3. ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

นิยามหรือความหมายของสังคมเรียนรู้ (Definition of Knowledge Society)

สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง หรือเป็นกระบวนการทางสังคมที่ส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้ ทำให้เกิดการสร้างสรรค์

ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Eea)

สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน นักวิชาชีพจะมีบทบาทหลักในการจัดความรู้ หรือการพัฒนาความรู้เป็นอย่างมาก

Knwledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น Internet หรือ ICT ต้องประกอบด้วยความสามารถในการเข้าถึงการเรียนรู้

Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก จึงต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู้

Knowledge Valuation คือ การตีค่าหรือการตีความรู้ ว่าเมื่อใช้ความรู้แล้วมีความคุ้มด่าหรือไม่ ในการตีความรู้มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการ

Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่างๆ เช่น การทำคู่มือต่างๆ

Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ซึ่งความรู้ไม่ได้มีไว้ใช้อย่างเดียว แต่สามารถนำความรู้มาสร้างเป็นพลังได้

สังคคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง ประชาชนและทุกคนภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกัน มีความอิสระและพึ่งตนเอง

ลักษณะสำคัญคือ มีการสะสมความรู้ มีการถ่ายโอนความรู้ การสร้างสรรค์ และประยุกต์ความรู้มาใช้

ลักษณะสังความแห่งการเรียนรู้

ไม่จำกัดขนาดและสถานที่

เน้นการจักการเป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนมีโอกาสพัฒนา

สถาบันสังคมเป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ

มีกลุ่มประชาชนเป็นแกนกลาง

มีการพัฒนานวัตกรรมและการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินการอย่างตาอเนื่อง

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีตลอดเวลา

สถานศึกาาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้

ความรับผิดชอบเป็นของของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน