สังคมความรู้ (Knowledge)
นิยาม/ความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge)
สังคมความรู้ หมายถึง
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารนิทศสูง
สังคมความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ
ใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
ยุคของสังคมความรู้(Knowledge society Era)
1.สังคมความรู้ยุคที่ 1
Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้
Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้
Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้
2.สังคมความรู้ยุคที่ 2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ
ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่2
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสร้าสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
ความรู้ (Knowledge)
1.ความหมายของข้อมูล (Data)
1.Ackoff กล่าวว่า
ข้อมูล คือ สัญญาลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
2.พรธิดา วิเชียรปัญญา กล่าวว่า
ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน เป็นข้อมูลในระดับปฎิบัติการ
3.ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และ ครรชิต มาลัยวงศ์ กล่าวว่า
ข้อมูล หมายถึงบันทึกที่เเสดงความเป็นไปหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ
2.ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ได้เเก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร
3.ความหมายของความรู้ (Definition of Knowledge)
ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษาประสบการณ์ ที่สะสมให้ในอดีต และสามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต
4.ประเภทรูปแบบกความรู้ (Type of Knowledge)
มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อเท็จจริง จากประสบการณ์ ความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge) และความรู้องค์กร
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้เเก่
1) Tacit Knowledge
ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในเเต่ละบุคคล ที่ได้จากประสบการณ์ สัญชาตญาณและความเชื่ยวชาญของเเต่ละบุคคลที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดได้โดยง่าย
เช่น ทักษะการทำงาน งานฝีมือ
เน้นไปที่ การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฎิบัติ
2) Exlicit Knowledge
ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ ที่สามารถถ่ายทอดได้
เช่น ฐานข้อมูล รายงาน ทฤษฎี
เน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้
มนตรี จุฬาวัฒนทล ได้แบ่งความรู้อกเป็น 4 ระดับ
1- ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา
2- ความรู้ด้านภาษา
3- ความรู้ด้านวิชาการ
4- ความรู้ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน
กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)
1.การบ่งชี้ความรู้ เพื่อบรรลุเป้าหมาย
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เพื่อใช้งานได้ง่ายและรวดเร็วในอนาคต
4.การประมวลและกลั่นกรอความรู้ เช่น ปรับปรุงเอกสารใ้เป็นมาตรฐาน ใช้ ภาษาเดียวกัน
5.การเข้าถึงความรู้ เช่น การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ แบ่งได้2กรณี Tacit Knowledge จัดเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน Explicit Knowledge จัดทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้
7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่น การสร้างความรู้ใหม่