.สังคมความรู้.
(Knowledge Society)
ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)
สังคมความรู้ยุคท่ี 1
Knowledge Access
การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
Knowledge Validation
การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีท้ังของ จริงและของหลอก
Knowledge Valuation
การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้น้ันแล้วมี ความคุ้มค่าหรือไม่
Knowledge Optimization
การทาความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนาความรู้ออกมา เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพ้ืนฐานมาจากความรู้
Knowledge Dissemination
การกระจายความรู้
สังคมความรู้ยุคที่ 2
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
ไม่จากัดขนาดและสถานที่ต้ัง
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดาเนินการ (Key Institutions)
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ความหมายของข้อมูล (Data)
Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทางาน ประจาวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ
วิจารณ์ พานิช (2546) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิง ปริมาณเกี่ยวกับส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจานวน (Numeric Data)
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)
3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)
4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)
5) ข้อมูลเสียง (Voice Data)
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจานวนและคุณภาพ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ถูก มนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล เนื่องจากสามารถสื่อความหมายได้โดยมีความ ครอบคลุมที่กว้างกว่า
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (2544) กล่าวว่า สารสนเทศ หรือ สารนิเทศ หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่สาคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ ทราบ
Turban (2006) กล่าวว่า สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมายแล้วมี คุณค่าต่อผู้รับเพื่อการนาไปใช้งาน
Orna (1998) กล่าวว่า สารสนเทศ คือ การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป ยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบโสตวัสดุและทัศนวัสดุ สิ่งตีพิมพ์ สุนทรพจน์ หนังสือ บทความ รายงานการ ประชุม หรือฐานข้อมูล
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
ความรู้ คือ กรอบของการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทและ ความรู้แจ้งอย่างชัดเจน ซ่ึงโดยทั่วไปความรู้จะอยู่ใกล้ชิดกับกิจกรรมมากกว่าข้อมูลและสารสนเทศทา ให้เกิดความตระหนักถึงความสาคัญของความรู้ (ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ,2548: 17)
ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge)
1) Tacit Knowledge
2) Explicit Knowledge
ระดับความรู้
1) ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา
2) ความรู้ด้านภาษา
3) ความรู้ด้านวิชาการ
4) ความรู้ใหม่
นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทางานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง
กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)
1.การบ่งชี้ความรู้
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4.การประมวลแบะกลั่นกรองความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
5.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
6.การเรียนรู้