สังคมความรู้ (knowledge socity)

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้

สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก
ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)

สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี
บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ
พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ท าให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ
รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ
ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก
ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ
พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร

การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่
แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ
ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต

การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้
ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม

การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย
การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ความรู้ (Knowledge)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก
จากกันได้ ซึ่งค าทั้ง 3 ค ามีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ
และความรู้ไว้ดังน

ความหมายของข้อมูล (Data)

Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการท างาน
ประจ าวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ

วิจารณ์ พานิช (2546) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิง

ปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

แก่นหรือเนื้อหาที่ส าคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้
ทราบ อาจเป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้เรื่องราวทั่วไป ความรู้ทางวิชาการหรือศาสตร์
ความรู้สึก ความคิด ประสบการณ์ ซึ่งผ่านการกลั่นกรอง ประมวล เรียบเรียงและจัดเก็บโดยบันทึกสื่อ

ชนิดต่างๆ มีหลากหลายรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดสารให้ผู้อื่นทราบและใช้ประโยชน์ต่อไป

ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)

ความรู้ คือ กรอบของการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทและ
ความรู้แจ้งอย่างชัดเจน ซึ่งโดยทั่วไปความรู้จะอยู่ใกล้ชิดกับกิจกรรมมากกว่าข้อมูลและสารสนเทศท า
ให้เกิดความตระหนักถึงความส าคัญของความรู้

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

Tacit Knowledge

e ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น
ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจ
ในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูดหรือลายลักษณ์

อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็น

ความรู้แบบนามธรรม

Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ
รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ
ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม