สังคมความรู้ (Knowsledge Society)

5.กระบวนการจัดการความรู้

กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กรซึ่งมีงดังนี้

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

2.การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่น แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า จำกัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว

3.จัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการว่างโครงสร้างสำหรับความรู้ เพื่อเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ และเรียกใช่งานได้อย่างรวดเร็ว

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์

5.การเข้าถึงความรู้ โดยใช่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วย

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแข่งปันแลกเปลื่ยนความรู้

Explicit knowledge อาจจะทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้

Tacit knowledge จัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่ม ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน เป็นต้น

7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

บทสรุป

ความรู้ เป็นสิ่งจำเป็นในสังคม ผู้ที่มีความสามรถในการจัดการความรู้จะช่วยพัฒนาตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นในสังหรืองค์กรการเรียนรู้ได้ดี การสะสมความรู้ ถ่ายโอนความรู้ สร้างสรรค์ความรู้ใหม่และการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคมจะช่วยสร้างและพัฒนาบุคคลหรือองค์กรให้มีความรู้ ความสามารถ รวมถึงทักษะต่างๆ ในการดำรงชีพในสังคมความรู้ศตวรรษที่ 21

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

สังคมความรู้ คือ สังคมที่มีความเข้าถึงและใช่ประโยนช์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

4.ความรู้

1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ”ความรู้”

ความหมายของข้อมูล

ความหมายของสารสนเทศ

2.ความหมายของความรู้

ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะนำไปใช้เพื่อการตัดสนใจและการกระทำต่างๆ

3.ประเภทรูปแบบความรู้

ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อทเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับการสืบทอดหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล และความรู้องค์กร

3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

เน้นการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางเพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

การริเริ่ม/การเปลื่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

2.ยุคสังคมความรู้

สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค

ยุคที่ 1 สังคมความรู้ที่มีพลังหรืออำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด

ยุคที่ 2 สังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ