วัสดุ

ไม้ (Wood)

ไม้ธรรมชาติ

ไม้สังเคราะห์

ไม้สังเคราะห์พลาสติก(WPC)

ไม้ไฟเบอร์บอร์ดความหนาแน่นปานกลาง

ข้อดี: ผลิตเป็นแผ่นบางๆขึ้นรูป เจาะง่าย ราคาถูก พ่นสีได้

ข้อเสีย: ต้องระวังเรื่องความชื้นและการโดนน้ำ

พาติเคิลบอร์ด

เศษไม้ยางพารา ขนาดเล็ก นิยมใช้มาทำเฟอร์นิเจอร์

ข้อดี: ราคาถูกมาก น้ำหนักเบา หาซื้อได้ง่าย

ข้อเสีย: วัตถุไม่แข็งแรง โดนน้ำไม่ได้ พ่นสีไม่ได้ อาจมีราขึ้นชื้น

ไม้สังเคราะห์ไฟเบอร์ซีมเนต์

มีส่วนผสมของปูน ทราย ผงไม้
และนำมาผ่านกระบวนการอัดขึ้นรูปในแบบต่างๆ

ข้อดี: หาง่าย ราคาถูก ตัดแต่งได้เหมือนไม้ ปลวกแมลงไม่กิน
ไม่หด บิด งอ สามารถทำสีได้

ข้อเสีย: เปราะหักง่าย มีน้ำหนักที่หนัก สัมผัสแล้วร้อน ทำสีมีโอกาศลอกได้ง่าย

โลหะ (Metal)

คือวัสดุที่ได้จากการถลุงสินแร่ต่างๆ

แบ่งเป็น 2 ชนิด

โลหะกลุ่มเหล็ก

เหล็กดิบ

เป็นผลผลิตที่ได้จากเตาสูงหรือเตาบลาสต์เฟอร์เนซ
ความร้อนที่ใช้ในการถลุงนั้นได้มาจากการเผาถ่านโค้ก
โดยมีลมร้อนเป็นสิ่งช่วยในการเผาไหม้

วัตถุดิบที่ใช้ถลุงเหล็กดิบนั้น ได้แก่่

สินแร่เหล็ก

ตัวอย่าง

แมกนีไซต์ เฮมาไซต์ ทาโคไนท์

สินแร่เหล็ก เป็นวัตถุดิบหลักที่ให้เนื้อเหล็กออกมาจากกการถลุง

ถ่านโค้ก

เชื้อเพลิงที่ใช้ในการถลุงเหล็ก เป็นสารทำให้ปฏิกิริยาเคมีในเตาสมบูรณ์

หินปูน

ใส่ลงไปเพื่อทำหน้าที่เป็น fluxแยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก

เศษเหล็ก

ใส่เพื่อประหยัดสินแร่ทำให้ลดต้นทุนการผลิต

อากาศ

ต้องการออกซิเจนไปช่วยเผาไหม้

น้ำ

ระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตา

เหล็กหล่อ

เหล็กหล่อสีขาว

มีคาร์บอนผสมอยู่ร้อยละ1.8-3.6
เมื่อหักออกจะเห็นเป็นสีขาว

เหล็กหล่อสีเทา ดำ

มีปริมาณการใช้งานมากสุด

เหล็กหล่อเหนียว

เป็นเหล็กหล่อที่รวมเอาข้อดีเหล็กหล่อสีเทาและ
เหล็กกล้าเข้าด้วยกัน

เหล็กหล่อผสม พิเศษ

เป็นเหล็กที่นำเอาธาตุต่างๆมาประสมเข้าไปเพื่อเปลี่ยนลักษณะโครงสร้าง
ปรับปรุงให้คุณสมบัติเหมาะต่อการใช้งาน

เหล็กกล้า

เหล็กกล้าคาร์บอน

เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ

มีคาร์บอนไม่เกินร้อยละ0.25

เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง

มีคาร์บอนร้อยละ 0.2-0.5

เหล็กกล้าคาร์บอนสูง

มีคาร์บอนร้อยละ0.5-1.5

เหล็กกล้าผสม

เหล็กกล้าประสมต่ำ

มีธาตุประสมกันน้อยกว่าร้อยละ8
ธาตุที่ผสม คือ โครเมียม นิกเกิล โมลิบดินั่ม แมงกานีส

เหล็กกล้าประสมสูง

มีธาตุประสมกันมากกว่าร้อยละ 8
เช่น เหล็กกล้าทนการเสียดสีและทนการกัดกร่อน

เหล็กกล้าไร้สนิม

โครเมียม
ช่วยป้องกันการกัดกร่อนจากปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน

นิกเกิล
มีผลต่อความแข็งแรงของโครงสร้าง

โมลิบดินัม
เพิ่มสมบัติการต้านทานการกัดกร่อน

ไนโตรเจน
ขจัดการกัดกร่อนประเภทมุมอับ

ทองแดง
ต้านทานการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมที่เมหาะสม

โลหะนอกกลุ่มเหล็ก

โลหะหนัก

ทองแดง
ตัวนำความร้อนและไฟฟ้า ทนต่อการกัดกร่อน

เงิน
มีความหนาแน่น10.54kg/dm3

ตะกั่ว
มีความหนาแน่น11.2 kg/dm3

ดีบุก
มีความหนาแน่น 7.3kg/dm3

โลหะเบา

อะลูมิเนียม แมกนีเซียม เบริลเลียม

โลหะผสม

ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะซินเตอร์

เซรามิก

เป็นผลิตภัณฑ์วัตถุดิบในธรรมชาติ นำไปเผา
เพื่อให้แข็งแรง คงรูป

กระจกแผ่น

มีความแข็งแรงต่ำ ผิวกระจกเป็นรอยขูดขีดง่าย
นิยมทำเป็นกรอบรูป กระจกเงา

กระจกเงา

เกิดจากการฉาบโลหะเงินลงไปด้านหนึ่ง
มักมีผิวเรียบเสมอกัน สะท้อนภาพจากวัตถุได้

กระจกสะท้อน

กระจกที่มีการคเลือบสารสะท้อนไว้ที่ผิวหน้า
สามารถสะท้อนแสงได้ ลดความร้อนที่เข้ามาในอาคาร

กระจกนิรภัย

มีความแข็งแรงกว่ากระจกธรรมดา เมื่อแตก
จะเป็นเม็ดเล็กๆ มีความคมน้อย

กระจกกึ่งนิรภัย

มีความแข็งแรงกว่ากระจกธรรมดา เมื่อแตกจะเป็นปาก
ฉลามยึดติดกับกรอบ ไม่หล่น นิยมใช้ทำผนังภายนอกอาคาร

กระจกฉนวนกันความร้อน

การนำกระจกตั้งแต่2แผ่นมาประกอบกัน บรรจุฉนวนไว้ภายใน
ยอมให้แสงผ่านเข้าอาคารได้ แต่ไม่ยอมให้ความร้อนผ่านเข้ามา

วัสดุสมัยใหม่

สังเคราะห์ขึ้นด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง
เป็นการพัฒนาสมบัติของวัสดุให้ดีขึ้น
สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย

ตัวอย่าง

วัสดุนาโน

ประเภท

จากธรรมชาติ

เป็นวัสดุนาโนที่มีอยู่ในธรรมชาติ
เช่นขนขนาดเล็กในตีนตุ๊กแก โครงสนร้างขนาดลเ็กบนผิวใบบัว

จากการผลิต

เพื่อปรับปรุงวัสดุให้มีสมบัติที่ดีขึ้น หรือเจาะจงมากขึ้น เมื่อขนาดเล็กในระดับนาโนจะทำให้วัสดุมีพื้นที่ผิวมากขึ้น

วัสดุชีวภาพ

วัสดุที่นำมาใช้ในระบบชีวภาพของสิ่งมีชีวิต
อาจได้มาจากกการสังเคราะห์หรือธรรมชาติ

ปัจจุบันนำวัสดุชีวภาพมาซ่อมแซมหรือทดแทนเนื้อเยื่อที่ถูกทำลาย
ซึ่งเป็นประโยชน์ในด้านการแพทย์

วัสดุแห่งอนาคต

กราฟีน คือคาร์บอนอะตอมที่เรียงตัวกันเป็นรูปรังผึ้ง
เนื้อสารมีความแข็งแกร่ง มีคุณสมบัตินำไฟฟ้าสูง

วัสดุผสม

เป็นวัสดุที่มีการผสมวัสดุ2ชนิดขึ้นไป วัสดุที่ผสมต้องไม่ละลายซึ่งกันและกัน

ประเภท

วัสดุเชิงประกอบพอลิเมอร์

วัสดุเสริมแรง เช่นใยแก้ว ไฟเบอร์กลาส
เส้นใยคาร์บอน เส้นลวดโลหะ

วัสดุเชิงประกอบโลหะ

มีโลหะเป็นวัสดุหลัก
เพื่อให้วัสดุมีความทนทานต่อการใช้งานมากขึ้น มีอายุการใช้งานนาน

วัสดุเชิงประกอบเซรามิก

เซรามิกเป็นวัสดุทนทานในการใช้งานที่อุณหภูมิสูง
ไม่ทนความร้อน ทนการกัดกร่อน เปราะหักง่าย

พลาสติก

1.เทอร์โมพลาสติก

โพลีเอทิลีน

1.LDPE
มีความนิ่ม เหนียว ยืดตัวได้มากแต่ไม่ค่อยทนความร้อน
ใช้ทำฟิล์มห่ออาหารห่อของ ถุงใส่ขนมปัง

2.HDPE
เหนียวและแตกยาก ค่อนข้างแข็ง ยืดได้มาก ทนทาน
ต่อสารเคมีและสามารถขึ้นรูปทรงต่างๆได้ง่าย

โพลีไวนิลคลอไรด์

ใช้ทำท่อน้ำประปา สายยางใส แผ่นห่ออาหาร
แผ่นพลาสติกสำหรับทำประตู

พอลิโพรพิลีน

มีความใส ทนต่อความร้อน คงรูป เหนียว
ทนกระแทกได้ดี ทนต่อสารเคมีและน้ำมัน ใช้ทำภาชนะบรรจุอาหาร

โพลีเอทิลีน เทเรฟทาเลท

วัสดุมีความเหนียว ทนทาน ยืดหยุ่นต่อแรงกระแทก
เหมาะสำหรับการใช้งานต่างๆ

พอลิสไตรีน

พลาสติกที่มีความใส แต่เปราะแตกง่าย
ใช้ทำภาชนะบรรจุของใช้ต่างๆหรือโฟมใส่อาหาร

โพลีเมทิล เมทาคริเลท

ใช้ทำเลนส์สายตา กระจกหน้าเครื่องบิน
หน้าต่างหลังคา ป้ายโฆษณา

โพลีเอไมด์

ใช้ทำสิ่งทอ เชือก เอ็นตกปลา แปรง

2.เอร์โมเซตติ้ง

โพลียูรีเทน

ใช้อย่างกว้างขวางในรูปแบบโฟมอ่อนและโฟมแข็ง

ฟันนอลิคส์

เป็นตัวต้านไฟฟ้า นำไปเคลือบผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เช่น แผ่นวงจรไฟฟ้า กระทะ แผ่นความร้อนและที่จับเจารีด

เมลามีน-ฟอร์มาลดีไฮด์-ยูเรีย-ฟอร์มาลดีไฮด์

เมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์
เช่นพลาสติกเอ็มเอฟสามารถทนความร้อนได้มากกว่ากันรอยขีดข่วน

ยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์
เช่นปุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า ที่จับมีดและจาน

โพลีเอสเตอร์ไม่อิ่มตัว

ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ เช่นพื้นห้องน้ำ ลำเรือเล็กและวัสดุทำหลังคา

อีพอกซี่

ทำส่วนประกอบอากาศยานทั้งหมด

Reinforced Plastics

เป็นพลาสติกที่เสนริมความแข็งด้วยเส้นใย เกลียวเชือก ผ้า หรือวัสดุอื่นๆ