สังคมความรู้
วัตถุประสงค์
อธิบายลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ในแต่ละยุคได้
อธิบายความหมายประเภทของความรู้ได้
อธิบายกระบวนการจัดการความรู้ได้
บทนำ
สังคมความรู้เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคลากรหรือสมาชิกในชุมชน
สารสนเทศนับว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญ เข้ามาเป็นบทบาทในชีวิตมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
การค้า
การผลิตสินค้า
การท่องเที่ยว
การให้บริการ
สารสนเทศจะกลายเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง
พัฒนาสังคมให้กลายเป็นสังคมความรู้ อันจะนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม บ้านเมือง
เนื้อหา
1. นิยามหรือความหมายของสังคม (Definiton of knowlede society)
- สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศ จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง
สังคมความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนูนส่งเสริมให้บุคลากรหรือสมาชิกหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ
2. ยุคของสังคมความรู้ Cknledge society Era
1. สังความความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิตมีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด
1.1 Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
Internet
ICT Connectvity
1.2 Knowledge validaion คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก ดังนั้นจะต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู้
1.3 knowledge valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้นค่าหรือไม่ การตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการแต่ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจก
1. ความไม่คุ้มค่าหรือราคาแพงเกินกว่าประผลประโยชน์
2. ใช้สำหรับสิ่วที่ไม่จำเป็น หรือฟุ่มเฟือย
3. ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น
4. ขัดกับความคิด ความเชื่อหรือวัฒนธรรม
5. ไม่สร้างความยุติธรรมและศักดิ์ศรีมนุษย์
1.4 Knowledge Optimzaton คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่างๆ
การทำคู่มือต่างๆ
1.5 Knowledge Disseminaton คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้
2. สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาท นักวิชาชีพมีบทบาท Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยบูรณาการ
วงจรวัฎจักรของความรู้ในทางสังคม
1. มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
2. มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
3. มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
4. มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
1.ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
2. เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3. ประชาชนได้รับโอกาสพัฒนา key lndividuals
4. สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ Key lnstitutions
5. มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง Corps Groups
6. มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
7. มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
8. การเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
9. สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมนุมร่วมกัน
11. ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
บทสรุป
ความรู้ นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นในสังคมความรู้ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการความรู้ได้ดี จะช่วยให้สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่นในส่ฃคมหรือองค์กรการเรียนรู้ได้ดี การสพสมความรู้ ถ่ายโอนความรู้ สร้างความรู้ใหม่ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคมจะช่วยสร้างและพัฒนาบุคคลหือองค์การให้ความรู้ให้มีความรู้ ความสามารถรวมถึงทักษะต่างๆ ในการดำรงชีวิต
ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้
กระบวนการความรู้
1. การบงชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอะไรอย่างไรให้องค์บรรลุเป้าหมาย
2. การสร้างและแสวงหาควมรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายอย่างทาง
การสร้างความรู้ใหม่
3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับเก็บความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งาน
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การปรับปรุงแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน
ใช้ภาษาเดียวกัน
ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้
6. การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
แลกเปลี่ยนความรู้
เวทีการ
การยืมตัว
การสับเปลี่ยนงาน
7. การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้
ข้อมูลสารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งทั้ง3คำมีนักวิชากันหลายๆท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศและความรู้ ไว้ดังนี้
1. ความหมายของข้อมูล (Data) Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
- พรธิดา วิเชียรปัญญา 2547 กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ
- วิจารณ์ พานิช 2546 กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อเชิงปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
- ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ 2549:35-37 กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ผซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1. ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถน้ำมาบวกลบคูณหารได้
ข้อมูลบัญชีการเงิน
ราคาสินค้า
2 . ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมาคำนวนได้
ชื่อบริษัท
3. ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก
ข้อมูลภาพโต๊ะ
ภาพเก้าอี้
ภาพอาคาร
ข้อมูลภาพสัญลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือการแสดงเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์
ภาพถ่ายใบหน้าของพนักงานแต่ละคนในบริษัท
5. ข้อมูลเสียง(Voice Data) คือ เสียงต่างๆ
เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์
เสียงพูด
เสียงที่บันทึกไว้
# จากบทนิยามข้างต้น สรุปได้ว่า ข้อมูลคือ กลุ่ใของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ภาพ เสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล
2. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
- สมนึก เอื้อจิระพงศ์พันธ์ 2553 กล่าวว่า หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์
ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน
- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2549 กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลมนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว
- คณาจารย์ภาควิชาบรรณณดารักษาศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2544 กล่าว สารสนเทศหรือสารนิเทศ หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่สำคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ทราบ
Tuoboan 2006 กล่าวว่า สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและการและตีความหมายแล้วมีคุณค่าต่อผู้รับเพื่อการนำไปใช้งาน
เกรดเฉลี่ยสะสมของนักเรียน
- Orna 1998 กล่าวว่า สารสนเทศ คือ การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไปยังบุคคลอื่น
โสตวัสดุ
ทัศสรวัสดุ
สิ่งตีพิมพ์
สุนทรพจน์
หนังสือ
หนังสือ
บทความ
รายงานการประชุม
ความหมายของความรู้ Definition of Knowledge
- Cavenport and Prusak 1998:5 กว่าว่าความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน
-Haraldsson 2003 กล่าวว่า การไหลเวียนของความรู้สึก ปฎิกริยาตอบกลับ การตัดสินใจ สารสนเทศ
- ภราดร จินดาวงศ์ 2549:4 กล่าวว่า ความรู้คือ สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์ทักษะ การอบรม การดูงาน
- วิศิณ ชูประยูร 2545:29 กล่าวว่า ความรู้ หมายถึงข้อเท็จจริงและสารสนเทศทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ หลักการ กฎธรรมชาติ
- พรธิดา วิเชียรปัญหญ 2547 กล่าวว่า ความรู้คือ กระบวกการขัดเกลา เลือกใช้ และการบูรณาการ จนเกิดความรู้ใหม่
- อลาวี และลีเดอร์ 2001-109 กล่าวว่า ความรู้คือ สิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว้า
ชาร์ราชและยูโซโร 2003:188 กล่วกว่า ความรู้คือความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ
จากคำนิยามต่างไป สรุปได้ว่า ความรู้หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง
ประเภทแบบความรู้ Typoe of Knowledge
1. Tacit knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น
ทักษะในการทำงาน
งานฝีมือ
การคิดเชิงวิเคราะห์
2. Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายโอนได้ เช่น ฐานข้อมูล นอกจากนั้น มนตรี จุฬาตรี 2537 ได้แบ่งประเภทของความรู้ออกเป็น 4 ระดับ
1. ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งรับรู้ได้จากการสัมผัส
การมองเห็น
ได้กลิ่น
ได้ยิน
ได้ลิ้มรส
2. ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะทำให้อ่านและเขียนหนังเสือได้
ฟังเข้าใจ
ดูโทรทัศน์รู้เรื่อง
3. ความรู้ด้านวิชาการเป็นความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน
สามารถคำนวนได้
วินิจฉัยได้
4. ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นความรู้ที่เกิดจากการค้นคว้า