แนวปฎิบัติในสังคมดิจิทัล
มารยาทในการใช้โทรศัพท์ในที่สาธารณะ
1.มารยาทในการใช้โทรศัพท์มือถือในสถาศึกษา
2.มารยาทในการใช้โทรศัพท์มือถือในที่ทำงาน
3.มารยาทในการใช้โทรศัพท์มือถือในที่สาธารณะ
4.การส่งข้อความและการโทรกลับc
ความเกลียดชังออนไลน์
ความเกลียดชังออนไลน์ คือ การสื่อสารสร้างความเกลียดชังทงั้ ที่เป็นคาพูดตวั อกั ษร ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวภาพยนตร์เพลงและการสื่อความหมายในเชิงสัญลักษณ์อื่นๆทั้งที่เป็นการผลิตขึน้มาใหม่การผสมผสาน เนื้อ หาใหม่กับ เนื้อ หาที่มีการผลิตไว้แล้ว และการนาเสนอเนือ้ หาที่ผลิตไว้แล้วในรูปแบบใหม่ผ่านพื้น ที่ออนไลน์ ซึ่ง เข้าถึงได้ โดยมีเทคโนโลยีเครือข่ายหรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นการแสดงออกต่อบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลโดยมีฐาน อคติเกี่ยวกับเชื้อชาติชนชั้น ความฝักใฝ่ทางเพศสถานที่เกิดอุดมการณ์ทางการเมืองกลุ่มวัฒนธรรมศาสนา
พฤตกิรรมสร้างความราคาญและหลอกลวง
1.สแปม:คือชื่อเรียกของการส่งข้อความที่ผู้รับไม่ได้ร้องขอ
2.ฟิชชิง:มักมาในรูปของ อีเมลหรือเว็บไซต์เพื่อหลอกให้เหยื่อเผยข้อมูลความลับต่าง ๆ
3. •อีเมล์ลูกโซ่
4. •ไม่อ่านคำถามที่ถามบ่อย(FAQ)ก่อนถาม
5. การระรานออนไลน์ (Troll)
• คือ ความจงใจพยายามที่จะทาลายชุมชนหรือเรียกความสนใจและการทะเลาะวิวาทด้วยข้อความยั่วยุ
มารยาทเน็ต10ข้อ
1.ตระหนักว่ากำลังติดต่อบุคคลที่มีตัวตน
2.การสื่อสารออนไลน์ให้ยึดมาตรฐานความประพฤติเกี่่ยวกับการสื่อสารในชีวิตจริง
3.รู้ว่าเราอยู่ที่ไหนในไซเบอร์สเปซ
4.เคารพเวลาและการใช้แบนด์วิธ
5.ทำตัวเองให้ดูดีเวลาออนไลน์
6.แบ่งปันความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ
7.ช่วยกันควบคุมสงครามการใส่อารมณ์
8.เคารพความเป็นส่่วนตัวของผู้อื่น
\9.อย่าใช้อำนาจในทางไม่สร้างสรรค์
10.ให้อภัยความผิดผลาดของผู้อื่น
นักเลงคีย์บอร์ด
นักเลงคีย์บอร์ดหมายความว่าบุคคลที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวคอยระรานและทาให้ผ้อูื่นเดือดร้อนโดยออกมาในรูปแบบการ พิมพ์
การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์
การข่มขู่ คุกคาม ด้วยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยการใช้ โทรศพัท์มือถือ หรือสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ในการรังแกกัน
การนำมารยาทในชีวิตประจำวันมาใช้
1.มารยาทการพูดคุย
2.เคารพความเป็นส่วนตัวผู้อื่น
3.มารยาทการรู้จักประมาณตน
4.มีมารยาทเป็นผู้ฟัง
5.การช่วยเหลือกันในสังคม
ข่าวปลอม7รูปแบบ
•1) มีเนือ้หาเลียนแบบ
2) มีเนื้อหาชี้นำ
3) มีเนื้อหาแอบอ้าง
4) เนื้อหาที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นเนื้อหาปลอมที่สร้างขึ้นมาใหม่
5) มีการเชื่อมโยงเนื้อหาที่ผิด
6) เนื้อหาที่ผิดบริบท
7) เนื้อหาที่หลอกลวงมีเนื้อหาข้อมูลจริงแต่ใ่ช้ เพื่อเจตนาหลอกหลวง