บทที่1 สังคมความรู้(Knowledge Society)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.อธิบายลักษณะสำคัญสังคมความรู้เเต่ละยุคได้

2.อธิบายความหมาย ประเภทของความรู้ได้

3.อธิบายกระบวนการจัดการความรู้ได้

บทนำ

สังคมแห่งความรู้เป็นสังคมที่สนับสนุนให้คนในสังคมเรียนรู้ผ่านสื่อและเทคโนโลยี

การเรียนรู้เเบบนี้สามารถทำให้ผู้คนมีทักษะต่างๆ และระบบในการจัดการความรู้ที่ดี

ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนเราต่างๆมากมายหลายด้าน

ด้านธุรกิจ

ด้านการท่องเที่ยวและบริการ

ด้านการผลิตสินค้า

ด้านการให้บริการทางสังคม

ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

ด้านการค้าขาย

ด้านการบริหารและปกครอง

ด้านความบันเทิงและการพักผ่อน

เนื้อหา

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงเเละใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศ

หมายถึง สังคมที่สนับสนุนให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อเเละเทคโนโลยี

2.ยุคของสังคมความรู้

2.1สังคมความรู้ยุคที่ 1

1.Knowledge Access

การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ทางinternet หรือ ICT

2) Knowledge Validation

การประเมินความถูกต้องของความรูั

3) Knowledge Valuation

การตีค่าความรู้ มีหลักฐานถูกต้องทางวิชาการและมีความเหมาะสม

4) Knowledge Optimization

การทำให้ความรู้ง่ายในการใช้ นำความรู้ออกมาเป็นกฏ ระเบียบต่างๆ

5) Knowledge Dissemination

การกระจายความรู้ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้

2.2สังคมความรู้ยุคที่ 2

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา

3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่มดำเนินการ

3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางเพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนร

3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

3.8 การริเริ่มและการเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

4.ความรู้

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้

4.1.1 ความหมายของข้อมูล

1.ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน

2.ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือเชิงปริมาณเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

3.บันทึกที่แสดงความเป็นไปได้ของเหตุการณ์

1.ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน

2.ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ

3.ข้อมูลกราฟิก

4.ข้อมูลภาพลักษณ์

5.ข้อมูลเสียง

4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ

1.ข้อมูลที่มีคุณค่าเเละประโยชน์ทั้งในเชิงจำนวนเเละเชิงคุณภาพ

2.ข้อมูลที่ถูกมนุษย์วิเคราะห์เเละตีความเเล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล

3.แก่นหรือเนื้อหาที่สำคัญ ซึ่งเเสดงออกมาให้ทราบ

4.ข้อมูลที่มีการจัดการเเละตีความหมายแล้วมีคุณค่าต่อผู้นำไปใช้งาน

5.การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อสื่อสารไปหาบุคคลอื่นในรูปแบบโสตวัสดุเเละทัศนวัสดุ

6.ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆที่ผ่านการประมวลผลแล้วเเละสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

4.2 ความหมายของความรู้

1.ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงานทั้งเก่าเเละใหม่ เพื่อถูกนำไปใช้ในการตัดสินใจเเละทำสิ่งต่างๆ

2.การไหลเวียนของความรู้สึก ปฏิกิริยาตอบกลับการตัดสินใจ

3.สิ่งที่ได้มาด้วยการศึกษา ประสบการณ์ การศึกษาค้นคว้า

4.ข้อเท็จจริงหรือสารสนเทศในด้านต่างๆ

5.กระบวนการขัดเกลา เลือกใช้ บูรณาการ การใช้สารสนเทศจนเกิดความรู้ใหม่

6.สิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่นำมาซึ่งประสิทธิภาพที่ดี

7.การประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทเเละความรู้แจ้งอย่างชัดเจน

4.3 ประเภทรูปแบบความรู้

1) Tacit Knowledge

ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้นได้มาจากประสบการณ์

2) Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ สามารถถ่ายทอดได้

1.ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

2.ความรู้ด้านภาษา

3.ความรู้ด้านวิชาการ

4.ความรู้ใหม่

5.กระบวนการจัดการความรู้

1.การบ่งชี้ความรู้

2.การสร้างเเละเสาะเเสวงหาความรู้

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

4.การประมวลผลเเละกลั่นกรองความรู้

5.การเข้าถึงความรู้

6.การจัดการความรู้และเเลกเปลี่ยนความรู้

7.การเรียนรู้