การอ้างอิงเอกสาร
การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนน ามาใช้
อ้างอิงในการเขียนผลงาน
รูปแบบ
ชื่อผู้แต่ง. (ปี พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์
สถานที่พิมพ์: ส านักพิมพ์.
การลงชื่อผู้แต่ง
หนังสือที่มี
ผู้แต่ง 1 คน
Corey, Michael J.
หนังสือที่มี
ผู้แต่ง 2 คน
การลงชื่อผู้แต่ง
(Author’s Name)
ใช้ค าว่า และ หรือ and เชื่อม
หนังสือที่มี
ผู้แต่ง 3-6 คน
ระบุชื่อคนแรกไปจนถึงคนที่ 5
จึงเชื่อมด้วยค าว่า และ
หนังสือที่มี
ผู้แต่งมากกว่า6 คน
• ระบุชื่อคนที่ 1-6 จากนั้นใหใ้ช้ค าว่า
และคณะ หรือ และคนอื่นๆ
(ภาษาอังกฤษ and others)
หนังสือที่ผู้แต่ง
ใช้นามแฝง
ถ้าทราบชื่อจริงให้วงเล็บต่อท้าย
• ถ้าไม่ทราบให้วงเล็บไว้ว่า นามแฝง
การลงสถานที่พิมพ์
ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ ม.ป.ท. หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์
หรือ n.p. (no place) แทน โดยใส่ในเครื่องหมาย [ ]
รูปแบบ
บรรณานุกรมจากวารสาท
ื่อผู้เขียนบทความ. (ปี พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปี ที่(ฉบับที่), เลข
หน้าที่ปรากฏ.
กุลธิดา ท้วมสุข. (ปี พิมพ์). แหล่งสารนิเทศบนอินเทอร์เน็ต,
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(2), 1-13.
บรรณานุกรมจากเครือข่านอินเตอร์เนต
ชื่อผู้แต่ง. (ปี พิมพ์). ชื่อเอกสารออนไลน์. ค้นเมื่อ, ว/ด/ป
(ที่ค้น) จาก +URL เว็บไซต์ที่พบข้อมูล
ศรีสมร คงพันธุ์. (2542). สมุนไพรกับอาหารไทย. ค้นเมื่อ
23 พฤษภาคม 2553, จาก http://ite.nectec.or.th/%7Eelib
Jarvis, D.J. (2002). The process writing method. Retrieved
30 July 2010, from http://iteslj.org/Technigues/JarvisWriting.html.
Main topic
บรรณานุกรม
รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้า
การลงปีที่พิมพ์
ให้ระบุเฉพาะตัวเลข ไว้ในเครื่องหมาย ( ) เสมอ
ถ้าไม่ปรากฏปี พิมพ์ให้ใส่ ม.ป.ป. หมายถึง ไม่ปรากฏ ปี พิมพ์หรือ n.d.
หมายถึง no date แทน โดยใส่ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ [ ]
การลงชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง
ชื่อเรื่องมีทั้งภาาษฮังกฤษหรือไทยให้ใช้ไทย
เรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับประเทศไทย (Essay on Thailand)
ชื่อหนังสือที่เขียนเป็ นภาษาไทย
แต่ชื่อเรื่องเป็ นภาษาอังกฤษให้ถอดค าเป็ น
ภาษาไทยก่อนแล้วจึงใส่ชื่อภาษาอังกฤษไว้ในวงเล็บ เช่น
เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับประเทศไทย
การลงสำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์
ห้ามใส่ค าว่า ส านักพิมพ์ หรือ Publisher
ในกรณีที่ไม่ปรากฏชื่อส านักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ให้ระบุค าว่า
ม.ป.พ. หรือ n.p. (No Publisher) โดยระบุไว้ในเครื่องหมาย [ ]
เช่น ส ำนักพิมพ์ไทยวัฒนำพำนิช เขียนได้เป็น
การเรียงลำดับบรรณานุกรม
เรียงล าดับตามล าดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฎ (ก-ฮ, A-Z)
ถ้ามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทยให้เรียงแยกกันโดยให้เรียงภาษาไทยมาก่อนเสมอ
ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน โดยใช้หลักดังน
้ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวมาก่อนรายการที่มีหลายคน
ถให้เรียงตามชื่อผู้แต่งคนต่อมา
ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง
เอกสารผู้แต่งที่เป็ นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามล าดับอักษรตัวแรก
ของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม
ขโมยความคิด
การลอกงาน รายงาน บทความ ข้อความเขีบน
ความไม่สุจริตทางวิชาการ (Academic Dishonesty) หรือ
การฉ้อฉลทางวิชาการ (Academic Fraud) และผู้ที่
กระท า ผิดจะต้องถูก ต าหนิทางวิชาการ (Academic
Censuses)