ถาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ค่าลดหย่อน

ผู้มีเงินได้60,000บาท

คู่สมรสของผู้มีเงินได้60,000บาท

เบี้ยประกันชีวิตหักได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน10,000บาทและระยะที่ทำ10ปีขึ้นไป

บุตรคนละ30,000บาท

บิดามารดาของผู้มีเงินได้คนละ30,000บาท

อุปการะเลี้ยงดูคนพิการคนละ60,000บาท

ฑูตเป็นบุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษี

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดา

ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี

กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง

ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล

วิสาหกิจชุมชน

ฐานภาษี

เงินได้สุทธิ=เงินได้พึงประเมิณ-ค่าใช้จ่าย-ค่าลดหย่อน

เงินได้พึงประเมิณ

เงิน

ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน

ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงิน

เงินค่าภาษีอาการที่ผู้จ่ายเงิน

เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด

แหล่งเงินได้

ในประเทศ

หน้าที่งานที่ทำในไทย

กิจการที่ทำในไทย

กิจการของนายจ้างในประเทศไทย

ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย

นอกประเทศ

หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ

กิจการที่ทำในต่างประเทศ

ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ

เป็นภาษีทางตรง

อัตราภาษี

ประเภทเงินได้พึงประเมิณและหักค่าใช้จ่าย

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 1

เงินเดือน

บำเหน็จ

สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้รวมกันไม่เกิน 100,000

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 2

มุ่งหวังผลสำเร็จของงาน งานเสร็จถึงจะได้เงิน

กลุ่มพริตตี้

รับแปลภาษา

สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้รวมกันไม่เกิน 100,000

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 3

กลุ่มนักแต่งเพลง

สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้รวมกันไม่เกิน 100,000

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 4

กลุ่มนักลงทุน

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 5

เงินได้จากการให้เช่าสินทรัพย์

อัตราการหักค่าใช้จ่ายบ้านร้อยละ30,ที่ดินที่ใช้ในการเกษตรร้อยละ20,ที่ดินที่ไม่ใช้ในการเกษตรร้อยละ15,ยานพาหนะร้อยละ30,ทรัพย์สินอย่างอื่นร้อยละ10

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 6

เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เช่น แพทย์ นักบัญชี

อัตราการหักค่าใช้จ่าp แพทย์ร้อยละ60,วิชาชีพอิสระร้อย30

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 7

กลุ่มรับเหมาก่อสร้างช่างนำอุปกรณ์มาเอง

หักค่าใช้จ่ายตามจำเป็นหรือหักร้อยละ 60

เงินได้พึงประเมิณประเภทที่ 8

นอกเหนือระบุ

หักค่าใช้จ่ายตามจำเป็นหรือตามที่กฎหมายกำหนด

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

การยกเว้นตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฏากร

การยกเว้นตามกฎกระทรวงฉบับที่ 126

การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา

การยกเว้นตามกฎหมายอื่นๆ