ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการ
บุคคล ตามมาตรา77/1 (1)
บุคคลธรรมดา
คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
นิติบุคคล
กิจการที่ต้องเสียภาษี
การขายสินค้า
ขาย
จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือ
ค่าตอบแทนหรือไม่ (มาตรา 77/1(8))
(ก) การให้เช่าซื ้อสินค้า
(ข) การส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย
(ค) การส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร
(ง) การนําสินค้าไปใช้ไม่ว่าประการใดๆ
(จ) มีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
(ฉ) มีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการ
สินค้า
ทรัพย์สินที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่างที่อาจมีราคาและถือเอาได้ได้ว่า
จะมีไว้เพื่อขายเพื่อใช้ หรือเพื่อการใดๆ และให้หมายความรวมถึงสิ่งของทุกชนิดที่นําเข้า (มาตรา 77/1(9))
การให้บริการ
การกระทําใดๆ อันอาจหาประโยชน์อันมีมูลค่า ซึ่ง
ไม่ใช่การขายสินค้า
กรณีที่กฎหมายไม่ถือว่าการกระทําในบางกรณีเป็น “บริการ” ซึ่งไม่ต้องเสีย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม มีบัญญัติไว้ตามมาตรา 77/1(10)(ก)(ข) และ (ค)
การใช้บริการหรือการนําสินค้าไปใช้เพื่อประกอบกิจการของตนเองตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
(ก) บริการที่นําไปใช้เพื่อการรับรอง หรือเพื่อการอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน
(ข) บริการที่นําไปใช้กับรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10
คน
การนําเงินไปหาประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรือซื ้อพันธบัตรหรือหลักทรัพย์
การกระทําตามที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ปัจจุบันยังไม่มีการกําหนด
ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
การขายสินค้าที่จะอยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องเป็นการขายสินค้า
ในราชอาณาจักรเท่านั้น
การให้บริการที่จะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
(ก) การให้บริการที่ทําในราชอาณาจักร โดยไม่คํานึงถึงว่าการใช้บริการนั ้นจะอยู่
ในต่างประเทศหรือในราชอาณาจักร
(ข) การให้บริการที่ทําในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั ้นในราชอาณาจักร
โดยไม่คํานึงว่าการใช้บริการนั ้นจะอยู่ในต่างประเทศหรือในราชอาณาจักร
ผู้นําเข้า
ผู้ประกอบการหรือบุคคลอื่นซึ่งนําเข้า ผู้นําเข้าสินค้าจะต้อง
เสียภาษีมูลค่าเพิ่มเสมอ โดยไม่คํานึงว่าจะเป็นผู้ประกอบการหรือเป็นบุคคลอื่นซึ่งนําเข้า
ผู้ที่กฎหมายกําหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/1
ตัวแทน ในกรณีที่ผู้ประกอบการอยู่นอกราชอาณาจักร
ผู้รับโอนสินค้าหรือผู้รับโอนสิทธิในบริการ
ผู้ที่มีความรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร
ผู้ที่ควบเข้ากันและผู้ประกอบการใหม่ ในกรณีที่มีการควบเข้ากัน
ผู้โอนและผู้รับโอน ในกรณีโอนกิจการ
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้า
ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการจากต่างประเทศ
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
กลุ่มที่ 1 กิจการที่ได้รับการยกเว้นแต่สามารถขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
การขายสินค้าหรือให้บริการของผู้ประกอบการที่มีรายรับไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
การขายพืชผลทางการเกษตรภายในราชอาณาจักร
การขายสัตว์ทั ้งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตภายในราชอาณาจักร
การขายปุ๋ย
การขายปลาป่น อาหารสัตว์
การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สําหรับพืชหรือสัตว
การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร
กลุ่มที่ 2 กิจการที่ได้รับการยกเว้นและไม่สามารถขอเข้าส่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
การนําเข้าสินค้าของกลุ่มที่ 1 ข้อ 2-7
การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ
การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักรไม่ว่าจะเป็นทางบก ทางน้ำหรือทางอากาศ
การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศทางบกและทางเรือซึ่งมิใช่เรือเดินทะเล
การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทางราชการและเอกชน
การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์
การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น
การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ
การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ
การให้บริการที่เป็นงานทางศิลปะและวัฒนธรรม
การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ
การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน
การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์
การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น
การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม
การขายสินค้าหรือการให้บริการ
การบริจาคสินค้าให้แก่สถานพยาบาล
การขายบุหรี่ซิกาแรต ที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง
การขายสลากกินแบ่งของรัฐบาล สลากออมสินของรัฐบาล
การขายแสตมป์ ไปรษณีย์ แสตมป์อากร หรือแสตมป์ อื่นของรัฐบาล
การให้บริการสีข้าว
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผ้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการไม่เกิน1.8 ล้านบาทต่อปี
ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย
ผู้ประกอบการที่ให้บริการจากต่างประเทศและได้ใช้บริการนั ้นในราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการอื่นตามที่อธิบดีจะประกาศกําหนดเมื่อมีเหตุอันสมควร
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการในราชอาณาจักรเป็นครั้งคราว
กําหนดระยะเวลาการจดทะเบียน
สําหรับผู้ประกอบการที่มีรายรับเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ให้ยื่นคําขอจดทะเบียน ภายใน30วันนับแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
สําหรับผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มแต่มีสิทธิขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการซึ่งจะเริ่มประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
แบบคําขอจดทะเบียนและเอกสารหลักฐาน
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มให้ใช้แบบ ภ.พ.01
การขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นผู้ประกอบการต้อง
แสดงสถานภาพต่างๆของการประกอบการให้ครอบถ้วนดังมีสาระสําคัญ
สถานที่จดทะเบียน
กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่
กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั ้งอยู่
กรณีสถานประกอบการหลายแห่ง ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนได้ที่ สํานักงานสรรพากรพื้นท
ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
เมื่อเจ้าพนักงานได้รับคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบ ภ.พ.01 พร้ อมเอกสารที่เกี่ยวข้องครบถ้วยแล้ว จะมีการออกใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม คือใบทะเบียน ภ.พ.20
การเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ความรับผิดในการเสียภาษี
การขายสินค้า
การขายสินค้าทั่วไป
ส่งมอบสินค้า
การขายสินค้าตามสัญญาให้เช่าซื้อ
กําหนดชําระราคาแต่ละงวด
การขายสินค้าโดยมีการตั้งตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ตัวแทนแล้ว
ส่งมอบสินค้าให้แก่ผ้ซื้อ
การขายสินค้าโดยส่งออก
ชําระ
อากรขาออก วางหลักประกันอากรขาออก หรือจัดให้มีผ้คํ้าประกันอากรขาออก
วันที่นําสินค้าเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออก
การขายสินค้าที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าให้ผ้รับโอน
โอนกรรมสิทธิ์สินค้า
การให้บริการ
การให้บริการทั่วไป
การให้บริการตามสัญญาที่กําหนดค่าตอบแทนตามส่วนของบริการที่ทํา
การให้บริการที่กระทําในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร
การให้บริการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และโอนสิทธิในการบริการให้ผ้รับโอน
การนําเข้า
การนําเข้าสินค้าทั่วไป
การนําเข้ากรณีนําสินค้าออกจากเขตอุตสาหกรรมส่งออกโดยมิใช่เพื่อการส่งออก
การนําเข้ากรณีของตกค้าง
การนําเข้าสินค้าที่จําแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร
การขายสินค้าหรือการให้บริการบางกรณี
การขายกระแสไฟฟ้า นํ้าประปา หรือสินค้าที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน
การขายสินค้าที่ไม่มีรูปร่าง
การขายสินค้าหรือการให้บริการด้วยเครื่องอัตโนมัติโดยชําระราคาด้วยวิธีการหยอดเงินเหรียญ บัตร
การขายสินค้าโดยชําระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต
การให้บริการโดยการชําระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต
การขายสินค้าตามสัญญาจะขายสินค้า
ในกรณีที่ผ้ประกอบการนําสินค้าไปใช้โดยตนเองหรือบุคคลอื่น
ในกรณีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
ในกรณีที่ผ้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ
ในกรณีที่ผ้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้เพื่อการประกอบกิจการ
อัตราภาษี
อัตราทั่วไป
อัตราร้อยละ 0
การส่งออก
การขายสินค้าในราชอาณาจักรและใช้บริการนั้นในต่างประเทศ
การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ
การขายสินค้าหรือการให้บริการกับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามโครงการ
เงินก้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
การขายสินค้าหรือให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ สถานทต สถานกงศุล
การขายสินค้าหรือการให้บริการของคลังสินค้าทัณฑ์บนและของผ้ประกอบการที่อย่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออก
ใบกํากับภาษี
ผู้มีหน้าที่ออกใบกํากับภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 หรือร้อยละ 7
ผู้ขายทอดตลาดที่มิใช่ส่วนราชการ ซึ่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน
ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนในราชอาณาจักร
ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ไม่มีสิทธิ์ออกใบกํากับภาษี
ผู้ประกอบการที่มิได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียน แต่ไม่ได้มีการขายสินค้าหรือให้บริการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร และได้ให้ตัวแทนของตนออกใบกํากับภาษีแทนตามมาตรา 86/2
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ทรัพย์สินถูกนําขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นตามมาตรา
83/5
กรณีที่ไม่จําเป็ นต้องออกใบกํากับภาษี
กรณีที่ถือเป็นการขายสินค้าตามมาตรา 77/1(8)
กรณีที่ถือเป็นการให้บริการกรณีการใช้บริการของตนเอง
ผู้ประกอบการจดทะเบียนจําหน่าย จ่าย โอนสินค้า
ผู้ประกอบการจดทะเบียนให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทน
ผู้ประกอบการซึ่งไม่ต้องนําค่าตอบแทนที่มีลักษณะและเงื่อนไขตามที่อธิบดีกําหนด
ประเภทของใบกํากับภาษี
ใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
รายการของใบกํากับภาษีเต็มรูป
วิธีการจัดทําใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
ใบกํากับภาษีอย่างย่อ
ผู้มีสิทธิออกใบกํากับภาษีอย่างย่อ
รายการของใบกํากับภาษีอย่างย่อ
ใบกํากับภาษีอย่างย่อที่ออกโดยเครื่องบันทึกการเก็บเงิน
ใบกํากับภาษีที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดให้มีรายการเป็นอย่างอื่น
ใบกํากับภาษีของสินค้าหรือบริการเฉพาะอย่างมาตรา 79/1 (การขายสินค้าโดยการส่งออกการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ)
ใบกํากับภาษีของยาสูบ หรือน้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ใบกํากับภาษีที่อธิบดีอนุมัติให้ทําเป็นภาษาต่างประเทศ
ใบกํากับภาษีของสินค้าหรือบริการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
เอกสารอื่นที่ถือเป็ นใบกํากับภาษี
ใบเพิ่มหนี้
ใบลดหนี้
กิจการที่ได้รับการผ่อนปรนไม่ต้องออกใบกํากับภาษี
กิจการรายย่อยที่ไม่ต้องออกใบกํากับภาษีสําหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการที่มีมูลค่าครั้งหนึ่งไม่เกิน 1,000 บาท เว้นแต่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจะเรียกร้องใบกํากับภาษี
การออกใบแทนใบกํากับภาษี ใบแทนใบเพิ่มหนี้ และใบแทนใบลดหนี้
ใบแทนออกให้ครั้งที
วัน เดือน ปี ที่ออกใบแทน
คําอธิบายย่อๆ ถึงสาเหตุที่ออกใบแทน
ลงลายมือชื่อของผู้ออกใบแทน
ฐานภาษี
การขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป
มูลค่าของฐานภาษีไม่ให้รวมถึง
ส่วนลดหรือค่าลดหย่อน
ค่าชดเชยหรือเงินอุดหนุนตามที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติจากรัฐมนตรี
ภาษีขาย
การจําหน่าย
มูลค่าของสินค้าที่แถมพร้อมกับการขายสินค้า
มูลค่าของสินค้าที่แจกหรือให้เป็นรางวัลที่ผู้ซื ้อได้ซื ้อสินค้าแต่ละวัน
มูลค่าของการให้บริการเนื่องจากการเป็นนายหน้าตัวแทนให้แก่ผู้ประกอบการใน
ต่างประเทศ
มูลค่าของการขายสินค้าของผู้ประกอบการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกแก่ผู้ซื้อสินค้าในราชอาณาจักร และมีการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนําเข้าแล้ว
มูลค่าของสินค้าที่แจกหรือให้เป็นของขวัญ
มูลค่าของสินค้าตัวอย่างที่แจก เนื่องจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย
มูลค่าของอาหารและเครื่องดื่มที่นายจ้างจัดหาให้กับพนักงานหรือลูกจ้างใน
ระหว่างเวลาปฏิบัติงานตามระเบียบเกี่ยวกับสวัสดิการพนักงานหรือลูกจ้างโดยมูลค่าของอาหารและเครื่องดื่มดังกล่าวต้องมีราคาไม่เกินสมควร
มูลค่าของสินค้าที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มิใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียน
มูลค่าของเครื่องแบบที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นนายจ้างได้มอบให้แก่
ลูกจ้างในจํานวนคนละไม่เกินสองชุดต่อปี และเนื ้อนอกจํานวนคนละไม่เกินหนึ่งตัวต่อปี
(ก) สินค้าที่มอบให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนซื ้อนั ้นจะต้องเป็นสินค้าที่ผู้ขายมีไว้
สําหรับให้ทดลองใช้โดยเฉพาะเท่านั ้นและเมื่อลูกค้าตกลงซื ้อสินค้าผู้ขายต้องมอบสินค้าตัวใหม่ที่เป็นชนิดเดียวกันให้ลูกค้า
(ข) ระยะเวลาที่ให้ลูกค้าทดลองใช้สินค้านั้น
(ค) สินค้าที่มอบให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนซื้อนั้น
มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ขายหรือให้บริการแก่
ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการซึ่งเป็น
(ก) ผู้ทําสัญญาแบ่งปันผลผลิตกับองค์การร่วมไทย-มาเลเซีย
(ข) ผู้ขายสินค้าหรือให้บริการซึ่งได้ทําสัญญาเป็นหนังสือโดยตรงกับผู้ทําสัญญา
แบ่งปันรายงานตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกําหนด
มูลค่าของสลากวินโต๊ดและเปร๊สโต๊ดที่ประกอบการสนามแข่งม้าขายให้แก่ผู้
เล่นพนันแข่งม้าเป็นจํานวนเท่ากับจํานวนเงินรางวัลที่จะต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เล่นพนันแข่งม้าดังกล่าว
มูลค่าของทองรูปพรรณ
มูลค่าของนํ ้ามันดีเซลที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ผลิตและขายตั ้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2544
มูลค่าการให้บริการรับประกันวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย
ของผู้ประกอบการจดทะเบียน เฉพาะการให้บริการแก่บรรษัทประกันต่อแห่งเอเชียที่กระทําตั ้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป
มูลค่าการให้บริการขนส่งก๊าซทางท่อที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนให้บริการแก่
ผู้รับบริการซึ่งเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
มูลค่าของทรัพย์สินหรือสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนบริจาคให้แก่ส่วน
ราชการตามโครงการของทางราชการ
มูลค่าของทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการ
การขายสินค้าหรือการให้บริการเฉพาะอย่าง
ฐานภาษีสําหรับการส่งออก
ฐานภาษีสําหรับการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ
ในกรณีรับขนคนโดยสาร
ในกรณีรับขนสินค้า
การนําเข้าสินค้า
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าสินค้าทุกประเภท
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าสินค้าที่จําแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร
การนําเข้าและการขายยาสูบ น้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าและการขายยาสูบ
สําหรับการนําเข้ายาสูบ
สําหรับการขายยาสูบในราชอาณาจักร
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าและการขายนํ้ามันและผลิตภัณฑ์นํ้ามัน
สําหรับการนําเข้าน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
สําหรับการขายน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
กรณีอื่นที่กฎหมายกําหนดไว้กรณีเป็นพิเศษ
การคํานวณการขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป
การขายสินค้าหรือการให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือมีค่าตอบแทนตํ่ากว่า
ราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอันสมควร มูลค่าของฐานภาษีให้ถือตามราคาตลาดของสินค้า
การขายสินค้าหรือการให้บริการในกรณีที่ผู้ประกอบการนําสินค้าไปใช้หรือได้
ใช้บริการไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่น
การขายสินค้า
การขายสินค้าที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และภายหลังได้มีการ
โอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าอันทําให้ผู้รับโอนสินค้ามีหน้าที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
การขายสินค้าในกรณีผู้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือ
การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มของฐานภาษีที่มีมูลค่าเป็ นเงินตราต่างประเทศ
ในกรณีได้รับเงินตราต่างประเทศจากการขายสินค้า
ในกรณีนําเข้าสินค้าให้คํานวณราคา C.I.F ของสินค้านําเข้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ เป็นเงินตราไทยตามอัตราที่กรมศุลกากรใช้คํานวณเพื่อเรียกเก็บอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร
การจัดทำรายการงานทางภาษี
รายงานภาษีขาย
รายการที่ทําให้ยอดในรายงานภาษีขายเพิ่มขึ้น
การขายสินค้าหรือการให้บริการในราชอาณาจักร รวมทั้งการส่งออก
การให้เช่าซื้อสินค้า
การส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย (ฝากขาย)
การนําสินค้าหรือบริการไปใช้เพื่อการอื่นใด(ไม่ใช่เพื่อการประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม)
หนี้สูญได้รับคืน
มีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
มีสินค้าคงเหลือและทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกกิจการแต่ไม่รวมถึงสินค้าคงเหลือและทรัพย์สินของผู้ประกอบการ
รายการที่ทําให้ยอดในรายงานภาษีขายลดลง
การรับคืนสินค้าที่ชํารุดบกพร่อง ไม่ตรงตามตัวอย่าง ไม่ตรงตามคําพรรณนา
การลดราคาสินค้าหรือค่าบริการซึ่งผิดข้อกําหนดที่ตกลงกัน
การกรอกรายงานภาษีขาย
วัน เดือน ปี
เล่มที่/เลขที่
ชื่อผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
เลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้า/ผู้รับบริการ
สถานประกอบการ
รายงานภาษีซื้อ
รายการที่ทําให้ยอดในรายงานภาษีซื้อเพิ่มขึ้น
การซื้อ หรือการนําเข้าสินค้าหรือวัตถุดิบ
การซื้อ หรือเช่าซื้อ หรือนําเข้าซึ่งทรัพย์สิน
การรับบริการ หรือการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
การเพิ่มราคาสินค้าหรือค่าบริการ หรือการได้รับใบเพิ่มหนี้
ค่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนนําส่งตามแบบแสดงรายการ ภ.พ.36
รายการที่ทําให้ยอดในรายงานภาษีซื้อลดลง
การส่งคืนสินค้าหรือยกเลิกสัญญาการให้บริการ
การลดราคาสินค้าหรือค่าบริการที่ผิดข้อกําหนดที่ตกลงกัน
เอกสารที่ใช้ประกอบการลงรายการภาษีซื้อ
ใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4
ใบกับภาษีตามมาตรา 86/5 เฉพาะที่มีลักษณะเป็นใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
ใบเสร็จรับเงินของกรมสรรพากร
ใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากร
เอกสารหลักฐานอื่นๆ เช่น ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้
การกรอกรายงานภาษีซื้อ
ลําดับที่
ใบกํากับภาษี
วัน เดือน ปี
เลขที่
ชื่อผู้ขายสินค้า/ผู้ให้บริการ
เลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ขายสินค้า/ผู้ให้บริการ
สถานประกอบการ
รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
การกรอกรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
เลขที่ใบสําคัญ
ให้กรอกเลขที่ใบสําคัญรับหรือจ่ายสินค้าหรือวัตถุดิบ
กรณีลงรายการเป็นยอดรวมของการรับหรือจ่ายสินค้าหรือวัตถุดิบเป็นรายวัน
วัน เดือน ปี
ปริมาณสินค้า วัตถุดิบ
กรณีทั่วไปให้ลงรายการตามปริมาณสินค้า
กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนจัดทํารายงานแสดงรายละเอียดสินค้าหรือวัตถุดิบที่รับมาหรือจ่ายไปเป็นรายวัน
กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนเป็นผู้ค้าปลีกเนื่องจากสินค้าที่ขายแต่ละประเภทมี
หลายชนิด หลายขนาด และควบคุมปริมาณเป็นหน่วยได้ยาก
วิธีการลงรายการในรายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
การเก็บรักษาเอกสาร หลักฐาน ใบกํากับภาษีและรายงานในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชําระภาษี
ให้ผู้ประกอบการเก็บรักษาเอกสาร หลักฐาน และรายงานเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ในกรณีที่เห็นสมควร
การเก็บรักษาใบกํากับภาษีและหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อให้จัดเก็บเรียงตามลําดับและตรงตามรายการในรายงานและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดตามประกาศอธิบดีฯ
ความผิดทางภาษี
ความผิดทางแพ่ง
เบี้ยปรับ
ความผิดเกี่ยวกับการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ความผิดเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชําระภาษี
ความผิดเกี่ยวกับการออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้
ความผิดเกี่ยวกับการจัดทํารายงาน และเก็บรักษาเอกสารหลักฐาน
เงินเพิ่ม
บุคคลใดไม่ชําระภาษีหรือนําส่งภาษีให้ครบถ้วนภายในกําหนดเวลาตามที่ประมวลรัษฎากรบัญญัติไว้เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ จะต้องเสียภาษีเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเดือนภาษีที่ต้องชําระหรือนําส่งโดยไม่รวมเบี้ยปรับ
ความผิดทางอาญา
ความผิดเกี่ยวกับการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
โทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่คืนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการย้ายสถานประกอบการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการหยุดประกอบกิจชั่วคราว
ผู้ครอบครองทรัพย์มรดก
โทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท
ตัวแทนละเลยไม่ดําเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนของผู้ประกอบการที่อยู่
นอกราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แสดงใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการเปิดสถานประกอบการเพิ่มเติมหรือปิด
สถานประกอบการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการโอนกิจการบางส่วนหรือการรับโอน
กิจการทั้งหมด
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการเลิกกิจการหรือการโอนกิจการทั้งหมด
โทษจําคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 5,000 บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ ในกรณีที่ผู้ประกอบการใดมีหน้าที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มประกอบกิจการโดยไม่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ความผิดเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชําระภาษี
ผู้ไม่จัดส่งสําเนาสัญญาหรือเอกสาร
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ผู้มีหน้าที่นําส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนดไม่นําส่ง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้นําเข้าไม่ยื่นใบขนสินค้า
ความผิดเกี่ยวกับการออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้
โทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ผู้ประกอบการจดทะเบียนออกใบกํากับภาษี ใบกํากับภาษีอย่างย่อ ใบเพิ่ม
หนี้ หรือใบลดหนี้ โดยมีรายการในส่วนที่เป็นสาระสําคัญไม่ครบถ้วน
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ออกใบแทนใบกํากับภาษี ใบแทนเพิ่มหนี้ หรือ
ใบแทนใบลดหนี ้
โทษจําคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่จัดทําใบกํากับภาษีหรือสําเนาใบกํากับภาษี
ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มชั่วคราวได้ออกใบกํากับภาษี
ตัวแทนออกใบกํากับภาษีในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่เป็นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ
บันทึกการเก็บเงิน
โทษจําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตัวแทนผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักรออกใบกํากับภาษี
โดยไม่มีสิทธิ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินโดยไม่ได้รับอนุมัติ
โทษจําคุกตั้งแต่ 3เดือน ถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
ผู้ประกอบการจดทะเบียนโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่มออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้โดยไม่มีสิทธิที่จะออกเอกสารดังกล่าว
ตัวแทนผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักรโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่มออกใบกํากับภาษีโดยไม่มีสิทธิ
ผู้ออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้โดยไม่มีสิทธิจะออกเอกสารดังกล่าว
ผู้ประกอบการจดทะเบียนโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้ หรือใบแทนเอกสารดังกล่าว
ความผิดเกี่ยวกับการจัดทํารายงานและเก็บรักษาเอกสารหลักฐาน
โทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีสินค้าเกินจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนจัดทํารายงานโดยไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนด หรือตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
ผู้ประกอบการจดทะเบียนจงใจไม่เก็บและรักษาใบกํากับภาษีหรือสําเนาใบกํากับภาษี หรือเก็บรักษาเอกสารดังกล่าวโดยไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนด
โทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท ในกรณีที่ตัวแทนผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักรจัดทํารายงานโดยไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนด
โทษจําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่จัดทํารายงาน (รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย และรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นต้น หรือรายงานตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
ตัวแทนผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักรไม่จัดทํารายงาน
ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
โทษจําคุกตั ้งแต่ 3 เดือน ถึง 7 ปี และปรับตั ้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาทในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ลงรายการหรือลงรายการเป็นเท็จในรายงาน
ความผิดในกรณีอื่น
โทษจําคุกไม่เกิน 1เดือน หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ในกรณีที่เป็นผู้ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคําสั่งของเจ้าพนักงานประเมิน
โทษจําคุกไม่เกิน 6เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ในกรณีที่เป็นผู้ขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกแก่การปฏิบัติงานของพนักงานประเมินหรือขัดคําสั่งของเข้าพนักงานประเมิน
โทษจําคุกตั้งแต่3 เดือน ถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
ผู้ประกอบการจดทะเบียนโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม กระทําการใดๆ โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอื่นใดทํานองเดียวกัน
ผู้ประกอบการโดยเจตนานําใบกํากับภาษีปลอมหรือใบกํากับภาษีที่ออกโดย
ไม่ชอบด้วยกฎหมายไปใช้ในการเครดิตภาษ
เครดิตภาษีและการขอคืนภาษี
การนําเครดิตภาษีที่เหลืออยู่ไปชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม
เครดิตภาษีที่เหลืออยู่จากการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย) ผู้ประกอบการมีสิทธินําไปชําระภาษีมูลค่าเพิ่มของเดือนถัดไปได้
กรณีที่ไม่ได้นําเครดิตภาษีที่เหลืออยู่ไปชําระภาษีมูลค่าเพิ่มของเดือนถัดไป ก็ให้ขอคืนเป็นเงินสด (ใช้แบบ ภ.พ. 30เป็นแบบคําร้องขอคืน)
การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้มีสิทธิขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มได้แก่บุคคล
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีเครดิตภาษีเหลืออยู่ในแต่ละเดือนภาษี (กรณีที่ไม่ประสงค์ที่จะยกไปชําระภาษีของเดือนถัดไป) (ขอคืนในแบบ ภ.พ. 30)
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไว้เกิน ผิดหรือซํ ้า (ใช้แบบ ค.10)
ผู้มีหน้าที่นําส่งภาษีซึ่งนําส่งภาษีไว้เกิน ผิด หรือซํ ้า (ใช้แบบ ค.10)
ผู้ไม่มีหน้าที่เสียภาษีแต่ได้ชําระภาษีไว้ (ใช้แบบ ค.10)
เงื่อนไขการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม
การขายสินค้าหรือให้บริการในกรณีที่มีภาษีต้องขอคืน
การขายสินค้าหรือการให้บริการกรณีอื่นให้ยื่นคําร้องขอคืนภายใน 3 ปีนับแต่วันที่ได้ชําระภาษี (มาตรา 84/1)
การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษี
กลุ่มที่ 1 ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียน
แบบแสดงรายการที่ใช้ในการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี
กําหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี
กลุ่มที่ 3 ผู้นําเข้า
ผู้นําเข้า
แบบแสดงรายการที่ใช้ในการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี
กําหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายกาและชําระภาษี
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี
กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อําเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนที่สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
วิธีการชําระภาษี
ชําระเป็นเงินสด
ชําระด้วยเช็คขีดคร่อม สั่งจ่ายแก่กรมสรรพากร โดยขีดฆ่าคําว่า ผู้ถือและหรือตามคําสั่ง
กลุ่มที่ 2 ผู้มีหน้าที่นําส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้มีหน้าที่นําส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นใน
ราชอาณาจักร
แบบแสดงรายการที่ใช้ในการยื่นแบบแสดงรายการและนําส่งภาษี ได้แก่ แบบ ภ.พ.36
กําหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายการและนําส่งภาษี
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา
กรณีไม่มีใบกํากับภาษี
กรณีมีใบกํากับภาษี แต่ไม่อาจแสดงใบกํากับภาษีได้ว่ามีการชําระภาษีซื้อ
กรณีมีใบกํากับภาษี แต่ใบกํากับภาษีดังกล่าวมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ในส่วนที่เป็ นสาระสําคัญตามมาตรา 86/4
ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการจดทะเบียน
ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองหรือเพื่อการอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีซึ่งออกโดยผ้ไม่มีสิทธิออกใบกํากับภาษี
ภาษีซื้อที่ต้องห้ามตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ เช่า หรือรับโอนรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ หรือรับโอนรถยนต์ ที่มิใช่รถยนต์นั่ง และรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งเกิน 10 คน
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีอย่างย่อ
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ หรือจะนําไปใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อที่เฉลี่ยเป็ นของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการ
ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์อื่น
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการคําว่า “ใบกํากับภาษี”
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการข้อความ หรือคําว่า “ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผ้เสียภาษีของผู้ประกอบการทะเบียน”
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปแบบ
ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
การดำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเรียกเก็บ
การเรียกเก็บภาษีขายโดยแยกภาษีออกจากราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการคํานวณภาษีที่เรียกเก็บได้
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษี x อัตราภาษี
การเรียกเก็บภาษีขายโดยรวมภาษีขายอยู่ในราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยคํานวณภาษีที่เรียกเก็บได้
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษี x อัตราภาษี / (100 + อัตราภาษี)
การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชําระ
ภาษีที่ต้องชําระ = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ