บทที่2 ทฤษฎีเเละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

คุณสมบัติของคอนกรีต

สภาวะ

คอนกรีตสด(Fresh State)

คอนกรีตที่เเข็งตัวเเล้ว(Hardened State)

กำลังรับเเรงอัด(Compressive Strength)

การซึมผ่านน้ำในคอนกรีต

วัสดุปอซโซลาน

เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ(Natural Pozzolan)

ดัดเเปลง(Modify Pozzolan)

มวลรวมจากเศษคอนกรีต

วัสดุก่อสร้างจากคอนกรีตที่เเตก

วัสดุเหลือใช้จากการรื้อสิ่งก่อสร้าง

มวลรวม(Aggregate)

ประเภท

เกิดจากธรรมชาติ

มนุษย์ทำขึ้น

การเก็บรักษามวลรวม

เถ้าลอย(Fly Ash)

ชนิดของเถ้าลอย

เถ้าลอยชนิด F

เถ้าลอยชนิด C

องค์ประกอบทางเคมี

ปฏิกิริยาทางเคมี

งานวิจัยที่ผ่านมา

รัฐพล สัมนา เเละคณะ,ปี2553

การพัฒนาคอนกรีตที่ใช้มวลรวมหยาบที่ได้รับจากการย่อยเศษ คอนกรีตด้วยวัสดุปอสโซลาน

Ann เเละคณะ(2008)

ได้ศึกษากำลังอัดเเละความทนทานของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากการย่อยเศษคอนกีต

Etxeberria เเละคณะ(2007)

ศึกษาอิทธิพลของปริมาณมวลรวมรีไซเคิลเเละขั้นตอนการผลิตต่อคุณสมบัติของคอนกรีตรีไซเคิล

Hansen เเละ Narud(1983)

ศึกษาผลกระทบจากการใช้มวลรวมหยาบที่ได้จากการย่อยเศษคอนกรีตที่มีกำลังเเตกต่างกัน 3 ระดับ

Limbachiya เเละคณะ(2002)

ศึกษาถึงการใช้มวลรวมหยาบรีไซเคิลในคอนกรีตกำลังสูง

Ravindrajah เเละ Tam(1985)

ศึกษาคุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากการย่อยเศษคอนกีตเก่ามาใช้เป็นมวลรวมหยาบ