การเขียนอ้างอิงและบรรณารนุกรม
การอ้างอิงเอกสาร
ความหมาย
การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผเู้ขียนนา มาใช้อ้างอิงในการเขียนผลงาน
อ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่อง
(กุลธิดา ท้วมสุข, 2553)
อ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่องหรือท้ายรายงาน
บรรณานุกรม
กุลธิดา ท้วมสุข. (2553). แหล่งสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต.บรรณารกัษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์มข. 15(6), 44-49.
บรรณานุกรม
อ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องและเอกสารที่ไม่ได้อ้างอิง ในส่วนเนื้อเรื่องแต่ได้อ่านประกอบเรียบเรียง
เอกสารอ้างอิง
อ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น
การลงชื่อผู้แต่ง
หนังสือที่มี ผู้แต่ง 1 คน
อรรจน์ บัณฑิตย์
Potter, Harry
Corey, Michael J.
หนังสือที่มี ผู้แต่ง 2 คน
ใชคำว่า และ หรือ and เชื่อม
หนังสือที่มี ผู้แต่ง 3-6 คน
ระบุชื่อคนแรกไปจนถึงคนที่ 5 จึงเชื่อมด้วยคำว่า และ
หนังสือที่มี ผู้แต่งมากกว่า 6 คน
ระบุชื่อคนที่ 1-6 จากนั้นให้ใชคำว่า และคณะ หรือ และคนอื่นๆ (ภาษาองักฤษ and others)
หนังสือที่ผู้แต่งใช้นามแฝง
ถ้าทราบชื่อจริงให้วงเล็บต่อท้าย
ถ้าไม่ทราบให้วงเล็บไว้ว่า นามแฝง
หนังสือที่ผู้แต่ง เป็นนิตบิุคคล
เว้นวรรคจากหน่วยงานใหญ่คั่นด้วย เครื่องหมาย . ตามด้วยหน่วยงานย่อย
การลงปีที่พิมพ์
ให้ระบุเฉพาะตัวเลข ไว้ในเครื่องหมาย ( ) เสมอ
ถ้าไม่ปรากฏปีพิมพใ์ห้ใส่ม.ป.ป. หมายถึงไม่ปรากฏ ปีพิมพ์หรือn.d. หมายถึงno date แทน โดยใส่ไว้ใ้นเครื่องหมายวงเล็บ[ ]
การลงชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง
ชื่อเรื่องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใส่เฉพาะภาษาไทย
ชื่อหนังสือที่เขียนเป็นภาษาไทยแตชื่อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษให้ถอดคำ เป็น ภาษาไทยก่อนแลว้จึงใส่ชื่อภาษาอังกฤษไว้ในวงเล็บ
การลงครั้งที่พิมพ์
ใส่ครั้งที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่สองเป็นต้นไป
ภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวย่อ ed.
การโจรกรรมทางวรรณกรรม หรือ การขโมยความคิด
ความหมาย
การลอกงานเขียน ความคิดหรืองาน สร้างสรรค์ดั้งเดิม ทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงาน ดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง
ถือเป็น
ความไม่สุจริตทางวิชาการ (Academic Dishonesty)
การฉ้อฉลทางวิชาการ (Academic Fraud
ผู้ที่กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (Academic Censuses)
แนวทางหลีกเลี่ยง
แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด อ้างไว้ในบทนำว่างานใหม่หรือ ส่วนของงานใหม่
ได้รวมงานเดิมไวด้ว้ยอยา่งไร
ต้องให้แน่ใจว่าไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้ใด
อ้าอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่
การเขียนบรรณานุกรม
ส่วนสำคัญ
ชี่อผแู้ต่ง ชื่อเรื่อง การพิมพ์
บรรณานุกรมสำหรับหนังสือทั่วไป
รูปแบบ
ชื่อผแู้ต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์(ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป). สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.
บรรณานุกรมสำหรับบทความจากวารสาร
รูปแบบ
ชื่อผเู้ขียนบทความ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบบัที่)
, เลขหน้าที่ปรากฏ.
บรรรณานุกรมจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
รูปแบบ
ชื่อผแู้ต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อเอกสารออนไลน์. ค้นเมื่อ, ว/ด/ป (ที่ค้น)
จาก +URL เว็บไซต์ที่พบขอ้มูล
การเรียงลำดับบรรณานุกรม
เรียงลำดับตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฎ (ก-ฮ, A-Z)
ถ้ามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทยใหเ้รียงแยกกันโดยให้
เรียงภาษาไทยมาก่อนเสมอ
ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน โดยใช้หลักดังนี้
ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวมาก่อนรายการที่มีหลายคน
ถ้าผู้แต่งคนแรกซ้ำกัน ใหเ้รียงตามชื่อผู้แต่งคนต่อมา
ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง
เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ใหเ้รียงตามลำดับอักษรตัวแรก ของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลำดับตั้งแต่หน่วยงานใหญ่ถึงหน่วยงานย่อย
การลงสำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์
หา้มใส่คำว่า สำนักพิมพ์ หรือ Publisher
ในกรณีที่ไม่ปรากฏชื่อสำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ให้ระบุคำว่า ม.ป.พ. หรือ n.p. (No Publisher) โดยระบุไวใ้นเครื่องหมาย[ ]
การลงชื่อสถานที่พิมพ์
ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ ม.ป.ท. หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ n.p. (no place) แทน โดยใส่ในเครื่องหมาย[ ]