ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษี
โครงสร้างของภาษีอากร
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
1.1 หลักถิ่นที่อย่(ูResidence Rule)
เป็นบุคคลที่อยู่ในประเทศนั ้นชั่วระยะเวลาหนึ่ง
หรือหลายระยะเวลารวมทั ้งหมดถึง 180 วันในปีภาษี
1.2 หลักแหล่งเงินได้(Source Rule)
มีหน้าที่การงานในไทย
นายจ้างอยู่ในไทย
กิจการในไทย
ทรัพย์สินอยู่ในไย
2. ฐานภาษี
2.1 ฐานรายได้
รายได้เป็นเครื่องวัดความสามารถในการเสียภาษีของบุคคลได้ดีที่สุด
2.2 ฐานทรัพย์สิน
ทรัพย์สินที่มีอยู่เป็นการวัดถึงความมั่งคั่งและความสามารถในการเสียภาษีของ
บุคคล
2.3 ฐานการบริโภค
นําค่าใช้จ่ายการบริโภคสินค้าหรือบริการมาเป็นฐานในการเรียก
เก็บภาษีอากร
2.4 ฐานสิทธิพิเศษในการประกอบการ
ที่เรียกเก็บจากค่าธรรมเนียมการอนุญาต
ให้ประกอบกิจการบางประเภท
3. อัตราภาษี
3.1 อัตราก้าวหน้า
เป็นอัตราภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามฐานภาษี
3.2 อัตราคงที่
เป็นอัตราภาษีที่มีค่าคงที่ตลอดไม่เปลี่ยนแปลงไปตามฐานภาษี
3.3 อัตราถดถอย
เมื่อฐานภาษียิ่งสูงยิ่งจะเสียภาษีในอัตราตํ่า
4. การประเมินการจัดเก็บภาษี
4.1 การเสียภาษีโดยการประเมินตนเอง
4.2 การเสียภาษีโดยการประเมินของเจ้าพนักงาน
4.3 การเสียภาษีโดยการหักภาษี ณ ที่จ่าย
4.4 การเสียภาษีโดยการตรวจสอบของเจ้าพนักงาน
5. การขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีอากร
5.1 ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ
5.2 ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากร
6. การบังคับใช้กฎหมายภาษีอากร
เพื่อประโยชน์ในการบังคับให้ผู้มีหน้าเสียภาษีอากรได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย
ความหมายของภาษี
สิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎร โดยมิได้มีสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ผู้เสียภาษี
อากร แต่นําไปใช้เพื่อประโยชน์โดยส่วนรวม
ลักษณะของภาษีอากรที่ดี
หลักความเป็นธรรม
หลักความแน่นอน ชัดเจน
หลักความสะดวก
หลักความมีประสิทธิภาพ
หลักความเป็นกลางทางเศรษฐกิจ
หลักอํานวยรายได้
หลักความยืดหยุ่น
การจําแนกประเภทภาษี
1. การแบ่งประเภทของภาษีอากรตามหลักการผลักภาระภาษี
1) ภาษีทางตรง(Direct Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียภาษีต้องแบกรับภาระภาษีไว้เอง ผู้เสียภาษีไม่สามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้
2) ภาษีทางอ้อม(Indirect Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียภาษีไม่จําเป็นต้องแบกรับภาระภาษีไว้เอง ผู้เสียภาษีสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผู้อื่นได
2. การแบ่งประเภทของภาษีตามฐานภาษี
3. การแบ่งประเภทของภาษีตามมูลค่าหรือสภาพของสินค้า
1 ภาษีตามมูลค่าหรือราคา
2 ภาษีตามสภาพหรือปริมาณ
4. การแบ่งประเภทภาษีตามระดับหน่วยงานที่จัดเก็บ
(1) กระทรวงการคลัง
กรมสรรพากร
จัดเก็บภาษีอากรจากบุคคลธรรมดา นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
กรมสรรพสามิต
เก็บภาษีจากสินค้าและบริการเฉพาะอย่าง หรือภาษีของฟุ้มเฟือย
กรมศุลกากร
เก็บภาษีจากสิ่งของที่นําเข้ามาในราชอาณาจักรหรือส่งออก
ไปนอกราชอาณาจักร
(2) กระทรวงมหาดไทย
หน้าที่ในการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น