ต่อยอดเป็น

CHARM x ตามสั่งตามส่ง

หลักการสำคัญ

กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำอยู่ไม่ปฏิเสธระบบตลาด

r

แต่ Fairtrade ได้ใช้ SSE ซึ่งไม่ใช่แค่เรื่อง Social Enterprise

กรณีสหกรณ์

มีความเป็นเจ้าของกิจการร่วมกันสูง

แต่มีเรื่อง Social Impact น้อย จึงอยากเพิ่มระดับ

สถานการณ์ปัจจุบัน

โครงการตามสั่ง ตามส่ง

ชาญชาลา

คาดว่าจะมีโครงการในอนาคต

การระดมความเห็น

คำถาม - ถ้าให้นิสิตเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น จะทำได้อย่างไร

r

การมีส่วนร่วมมีนี้ มีทั้งภายใน และ ภายนอกมหาวิทยาลัยการเพิ่มพื้นที่ใหม่ ๆการที่เป็นกิจกรรมของนิสิตที่มีความยั่งยืน

ความเห็น

ประเด็นสำคัญ

เป็นงานที่ใหญ่ และตอนนี้มีนิสิตให้ความสนใจเข้าร่วม

กลุ่มนิสิตนักศึกษาที่จะเข้าร่วมได้แก่ นิสิตจุฬาฯ และจากสถาบันอื่น ตามลำดับ

แนวทางให้นิสิตจุฬาฯ เข้ามามีส่วนร่วม

r

จำเป็นต้องทำการร่วมกันระหว่างทีมวิจัย และทีมนิสิตทีมวิจัยอาจต้องให้ข้อมูลอย่างมากในช่วงแรก

กลุ่มของนิสิตจุฬาฯ เป็นโมเดลนำร่อง

r

หมายถึง การปฏิบัติงานและถอดบทเรียนจนเป็นโมเดลกลุ่ม/องค์กรของนิสิตนักศึกษาที่ขยายผลไปสถาบันการศึกษาอื่นได้

การสื่อสารทำความเข้าใจถึงประโยชน์

ประโยชน์ของโครงการ / งาน

r

ได้แก่แนวความคิดทางวิชาการ (Academic Concept)แพลตฟอร์มที่มาจาก concept เหล่านั้นวิธีการที่อาจใช้ในการสื่อสารการบรรยายการนำเอาไปขยายผลต่อคนภายนอก (ไม่ใช่นิสิต)มีแพลตฟอร์มที่เหมาะสมในการสื่อสาร

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการทำงาน

r

ความรู้ประสบการณ์เครือข่ายต่าง ๆค่าตอบแทน

งาน / กิจกรรมที่สามารถทำได้

r

ทำงานส่วนทีมวิจัยหลัก (ยานแม่)ทำงานใน Node / กิจกรรมย่อย ๆ

การขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมไปสถาบันอื่น

r

เริ่มจากนิสิตที่จะเป็น Core Team ในอนาคตขยายสู่นิสิตจุฬาฯ อื่น ๆที่จะเข้ามาร่วมทำงานขยายไปสู่นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยอื่น

การร่วมมือในพื้นที่จังหวัดอื่น ๆ ต่างเข้าไปทำงานกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่

นิสิตจุฬาฯ เป็น mentor ให้กลุ่ม/องค์กรนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยอื่น

ตัวอย่าง

ถ้า ม.ธรรมศาสตร์อยากทำที่ท่าพระจันทร์

r

ทีมวิจัยช่วยในในเรื่องงานวิจัยและการนำไปใช้ทีมนิสิตช่วยในเรื่องการทำกิจกรรมส่วนนิสิต

การเริ่มต้น

การรับนิสิตเข้ามาร่วมงาน

มีแผนและโครงสร้างกลุ่ม/องค์กรที่เพียงพอแก่การดำเนินการ

ควรมีรายละเอียดเรื่องการ Recruitment

r

มี Job Description ที่ชัดเจน เห็นภาพได้ง่าย

PR สร้างความเข้าใจต่อ concept และโครงการประกอบการรับสมัคร

ควรมีทีม HR/People ดูแลโดยเฉพาะ

r

ที่ผ่านมา มีความคิดเรื่อง flat organization เพื่อให้สมาชิกองค์กรได้ทำงานหลากหลายหน้าที่ตามความสนใจมีกลุ่ม HRD ทำหน้าที่พัฒนาสมาชิกแต่เนื่องจากโครงสร้างไม่ชีดเจน การทำงานเลยไม่เสถียร

ครั้งแรก HR CHARM ดำเนินการ

ข้อเสนอครั้งต่อ ๆ ไป

กิจกรรมตาม Value Chain อื่น ๆ ควรออกแบบใหม่ามความเหมาะสม

ข้อเสนอ

เป้าหมาย คือ ออกแบบกลุ่ม/องค์กรที่เหมาะสมกับการขับเคลื่อนงานวิจัย

เงื่อนไขต่าง ๆ

เป้าหมายของกลุ่ม/องค์กรคือความยั่งยืน (SDGs)

อยู่รอด เลี้ยงตัวเองได้

r

มีเงินทุนเป็นของตัวเอง ซึ่งอาจมีที่มาได้แก่งบประมาณสนับสนุนการวิจัยและพัฒนางบประมาณสนับสนุนการทำกิจกรรมของนิสิตนักศึกษากำไรจากการทำกิจกรรมตามข้อ 2.หมายเหตุกำไรเป็นคำเรียกให้เข้าใจง่าย แต่ไม่ได้ถึงการเป็นกลุ่มองค์กรที่มุ่งหากำไรในสหกรณ์จะมีคำว่า เงินส่วนเกิน (Surplus) แทนเงินที่เหลือจากการทำธุรกิจและหักค่าใช้จ่ายในการทำงานแล้ว

เติบโต ต่อยอดได้

r

สามารถสร้างงานวิจัยใหม่ ๆ ได้ต่อเนื่องสามารถนำงานวิจัยมาสร้างเป็น Product /service / Platform ได้ (ด้านธุรกิจ)สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ทั้งทางการวิจัย และทางธุรกิจได้

Function ของกลุ่ม/องค์กร

วิชาการ - การวิจัยต่าง ๆ

กิจกรรมนองนิสิต นักศึกษา

r

กิจกรรมของนิสิตนักศึกษาอาจแบ่งเป็นด้านเศรษฐกิจ - การทำธุรกิจหารายได้เลี้ยงตัวเองด้านการศึกษา - การบ่มเพาะความรู้ การเผยแพร่ความรู้ด้านสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม

หลักการสำคัญ

Framework

Social Solidarity Economy

หลักการสหกรณ์

วิธีการ

capability approach

วิธีการสหกรณ์

แนวทางออกแบบการ Collab ระหว่างส่วนการวิจัย และ การทำกิจกรรม

ส่วนบริหาร

r

เป็นส่วนที่ผู้ใหญ่ดำเนินการ โดยนิสิตนักศึกษามีส่วนร่วมมีสถานะทางกฎหมายรองรับอาจอยู่ในรูปแบบคณะกรรมก

ส่วนการวิจัย

r

เป็นส่วนที่มีนักวิจัย / คณาจารย์ดำเนินการ โดยมีนิสิต/นักศึกษาร่วมทำงาน

ส่วนกิจกรรมนิสิตนักศึกษา

r

โมเดลที่สามารถปรับใช้ได้ เช่นอบจ.CBAร้านสหกรณ์จุฬาฯCHARM

องค์กรรูปธรรม

r

พี่โบ้ต้องศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในช่วงเริ่มต้น พี่โบ้เสนอว่า ให้เริ่มจากตรงนี้ได้ แต่ต้องมีการทบทวน และปรับแต่งไปเรื่อย ๆการให้นิสิตออกแบบกันเอง ควรมีการเปรียบเทียบโมเดลต่าง ๆ ให้นิสิตตัดสินใจว่า รูปแบบใดเหมาะสมกับเป้าหมายของเรามากที่สุด และถ้าเอารูปแบบนั้นมาใช้ ต้องปรับสิ่งใดบ้างพิซซ่ามี mentor ช่วยนักศึกษาตัดสินใจการ connect กับหลาย ๆ มหาวิทยาลัยสามารถโมเดล YEAH ที่ทำกิจกรรมหลายมหาวิทยาลัยมาปรับใช้ได้เบสท์ยังไม่มีความเห็นเพิ่มเติมเบนซ์ค่อย ๆ ศึกษาโมเดล แล้วตัดสินใจทีหลังได้ออมสินมีหลายโมเดลที่เอามาปรับใช้ได้Core หลักอยู่ที่ Social Valueมีโมเดล Rotaract เบสท์เสนอให้มีภาพในหัวเริ่มต้นก่อน แล้วค่อย recruit คนเข้ามา ดังนั้น กลุ่มผู้ก่อการต้องออกแบบโมเดลที่ 1 และทดลองใช้การปรับองค์กรครั้งต่อ ๆ ไป ให้เป็นบทบาทของสมาชิกองค์กรภูมิเบื้องหลังมีความคาดหวังของมหาวิทยาลัย ดังนั้น การร่วมมือจึงเป็นไปในทางที่ทำให้ win-win ทั้งหมาวิทยาลัย นักวิจัย นิสิตJob ที่ recruitทีมบริหาร (อาจหาด้วยวิธีการชวนคนที่สนใจมาทำ)HR ของตัวเองทีมนิสิตที่ทำหน้าที่ Visualize องค์ความรู้ต่าง ๆทีม Operation งานวิจัยให้กลายเป็นธุรกิจที่ถูกต้อง

องค์กรหลัก - หน่วยงานในสังกัดของจุฬาฯ

บริหารงานทั่วไป

ส่วนการวิจัย

องค์กรย่อยสำคัญ - ส่วนกิจกรรมนักศึกษา

Learning Center เพื่อใช้งานวิจัย

r

ถ้าจะทำอย่างไม่เป็นทางการ (ไม่ได้ขึ้นตรงกับหน่วยงายของจุฬาฯ) สามารถทำได้เลยถ้าต้องการ body ที่เป็นทางการ จุฬาฯ มีหลายโมเดลสามารถ collab กับบุคลภายนอกมหาวิทยาลัยได้

ให้ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ

ทดลอง / ทดสอบผลลัพธ์งานวิจัย

ธุรกิจที่พัฒนางานวิจัยไปหารายได้

Next Steps

พี่โบ้ - หา Body ทางการที่ขึ้นกับมหาวิทยาลัยมารองรับ

Apr06-Apr18

นาน่า - สร้าง Learning Center แบบไม่เป็นทางการ

m

ทีม operate งานวิจัย

พิซซ่า - ตามสั่ง ตามส่ง

Onsite Promote ประชาคมจุฬาฯ ไปเริ่มเทอม 1/2565

Aug15

Onsite Promote ประชาคมนอกจุฬาฯ สามารถวางแผนได้เลย

ยังไม่มีนิสิต - โครงการอื่น ๆ