ธรรมชาติของภาษา
ความหมายของภาษา
ความหมายอย่างกว้าง
แสดงกิริยาอาการระหว่างสัตว์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์หรือมนุษย์กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ความหมายอย่างแคบ
เสียงพูด
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
การออกเสียงพูดจากันในชีวิตประจำวัน
การกร่อนเสียง
การกลมกลืนเสียง
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียงสระ
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียงวรรณยุกต์
ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
คำที่มีใช้ในภาษา เมื่อถึงสมัยหนึ่งอาจเลิกใช้หรือเปลี่ยนแปลงความหมายไปเนื่องจากไม่ได้รับความนิยม
อิทธิพลของภาษาอื่น
การติดต่อกับชนชาติอื่น
การยืมคำภาษาอื่นมาใช้
ภาษาบาลี
ภาษาสันสกฤต
ภาษาตะวันตก
ภาษามีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งแตกต่างกัน
ลักษณะที่แตกต่างกัน
เสียงไม่เท่ากัน
เสียงพยัญชนะเสียงสระเสียงวรรณยุกต์ไม่เท่ากัน
ภาษาไทยมีรูปพยัญชนะ 44 รูป 21 เสียง
พยัญชนะภาษาอังกฤษมี 26 เสียง
เสียงวรรณยุกต์มีเฉพาะบางภาษาเท่านั้น
ภาษาไทย
ภาษาจีน
โครงสร้างทางไวยากรณ์แตกต่างกัน
ภาษาไทย
เรียงแบบ ประธาน กริยา กรรม
ภาษาอังกฤษ
ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาญี่ปุ่น ภาษาฮินดี
เรียงแบบ ประธาน กรรม กริยา
ลักษณะที่เหมือนกัน
ใช้เสียงสื่อความหมาย
เสียงพยัญชนะ
เสียงสระ
เสียงวรรณยุกต์ที่มีเฉพาะบางภาษา
มีวิธีการสร้างคำศัพท์หรือคำใหม่
คำประสม
คำซ้ำ
คำซ้อน
มีถ้อยคำสำนวนใช้ในความหมายใหม่
มีคำชนิดต่างๆ
คำนาม
คําสรรพนาม
คำกริยา
คำวิเศษณ์
คําบุพบท
คำเชื่อม
คําสันธาน
คําอุทาน
มีวิธีการสร้างประโยคและขยายประโยคได้อย่างไม่มีกำหนด
มีวิธีการแสดงเจตนาและความคิดเหมือนกัน
ประโยคบอกเล่า
ประโยคคำถาม
ประโยคคำสั่ง
ประโยคปฏิเสธ
มีการเปลี่ยนแปลง
ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย
เสียงไม่สัมพันธ์กับความหมายขึ้นต้นกับการตกลงของคนละชาติ
ภาษาเกิดจากหน่วยในภาษาที่ประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น
ส่วนประกอบของภาษา
เสียง
คำ
ประโยค
การสะสมหน่วยในภาษา
เสียง
คำ
ประโยค
ข้อความ
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
วัจนภาษา
การใช้ถ้อยคำให้ถูกต้องทั้งในเรื่องการออกเสียงและการสะกดคำ
การใช้ถ้อยคำให้ตรงกับความหมาย
การใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ
อวัจนภาษา
การใช้สีหน้า
การใช้น้ำเสียง
การใช้สายตา
การใช้กิริยาท่าทาง
การใช้สัมผัส
การใช้วัตถุหรือสิ่งของ
บทบาทของภาษาในการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
ผู้รับสาร