สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย

คำจำกัดความ

การวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยน ามาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อน าไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่าง
ถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได้

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาค าตอบเพื่อน ามาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่น าผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดยที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถท าการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน

3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในการเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกัน

3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาต

ตัวแปรและสมมติฐาน

1. ความหมายของตัวแปร

ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

2. ลักษณะและชนิดของตัวแปร

2.1 ลักษณะของตัวแปร

1) ตัวแปรรูปธรรม (Concept)

2) ตัวแปรนามธรรม (Construct)

2.2 ชนิดของตัวแปร ตัวแปรทั้ง 2 ลักษณะที่กล่าวมาน

1) ตัวแปรอิสระ (independent variable)

2) ตัวแปรตาม (dependent variable)

3) แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน (extraneous variable)

4) ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)

3. การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

3.1 การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ปัญหาการวิจัยนั้น มักเป็นปัญหาที่ประกอบด้วยตัวแปรต่างๆสิ่งที่จะช่วยให้ผู้วิจัย

3.2 การนิยามตัวแปร

1) การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ (Constitutive definition)

2) นิยามในลักษณะปฏิบัติการ (Operational definition)

4. สมมติฐาน

4.1 ลักษณะของสมมติฐาน

1) เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

2) สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิต

5. ประเภทของสมมติฐาน

5.1 สมมติฐานทางวิจัย (research hypothesis)

1) สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)

2) สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis)

6. แหล่งที่มาของสมมติฐาน

6.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6.2 การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ

6.3 ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย ที่ได้ท างานคลุกคลีกับเรื่องนั้นมาก่อน

6.4 การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ

6.5 การสังเกตพฤติกรรม สังเกตความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ

7. ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

7.1 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย

7.2 อธิบายหรือตอบค าถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน

7.3 ตอบค าถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว

7.4 สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง

7.5 ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

7.6 เขียนด้วยถ้อยค าที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง

7.7 สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหรือหลักฐานที่จะน ามาสนับสนุน

7.8 มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป

7.9 มีอำนาจในการพยากรณ์

จรรยาบรรณของนักวิจัย

1) นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

2) นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการท างานวิจัย

3) นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ท าวิจัย

4) นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย

5) นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย

6) นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด

7) นักวิจัยพึงน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ

คุณลักษณะของการวิจัย

4.1 การวิจัย เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย ที่เป็นการค้นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล

4.2 การวิจัย เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถน าไปใช้อ้างอิงหรือคาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

4.3 การวิจัย มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกตหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical)

4.4 การวิจัยจ าเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน

4.5 การวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในการตอบค าถามตามจุดประสงค์ใหม่ ไม่ใช่เป็นการจัดระบบใหม่ (Reorganizing)

4.6 การวิจัยจะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่จะทำให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ

4.7 การวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการโดยใช้ความรู้ความช านาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ปัญหาที่ตนเองจะท าวิจัย และปัญหาดังกล่าวมีบุคคลใดประเด็นใดที่ได้ทำวิจัยไปแล้วบ้าง

4.8 การวิจัย จะต้องก าหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นจริง มีเหตุผล

4.9 งานวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการแสวงหาค าตอบที่น ามาใช้ตอบค าถามของปัญหาที่ ยังไม่สามารถแก้ไขได้

4.10 การวิจัย เป็นกิจกรรมที่จะต้องด าเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และจะต้องยอมรับ/เผชิญอุปสรรคในวิธีการได้มาของค าตอบในการวิจัย

4.11 การวิจัย จะต้องมีการจดบันทึกข้อมูล และจัดท ารายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวังในการใช้คำที่มีความหมาย

ประเภทของการวิจัย

6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ

6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research)

6.1.2 การวิจัยการน าไปใช้(Applied Research)

6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ

6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)

6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)

6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology) จ าแนกได้2 ลักษณะ

6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research)

6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)จำแนกเป็นประเภทย่อย ๆ 3 ลักษณะ

6.3.2.1 การวิจัยเชิงส ารวจ(Survey Research)

6.3.2.2 การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies)

6.3.2.3 การศึกษาพัฒนาการ(Developmental Studies)

1) การศึกษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies)

2) การศึกษาแนวโน้ม(Trend Studies)

6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์ จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ

6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research)

6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research)

6.7 ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำจำแนกเป็น 3 ลักษณะ

6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research)

6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research)

6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง(True Experimental Research)

6.6 จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย จำแนกเป็น 3 ลักษณะ

6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research)

6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented Research)

6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented Research)

6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัยจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ

6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research)

6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)

ธรรมชาติของการวิจัย

5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาค าตอบที่

5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4 ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

5.2 การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)

ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีความชัดเจนที่สามารถตรวจสอบได

5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัย ใด ๆ จำเป็นต้องมีความเที่ยงตรงใน 2 ลักษณะ ได้แก่ ความเที่ยงตรงภายใน

5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงวาในการดำเนินการวิจัย

5.6 การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนใน การดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง

5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม)

5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ

5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการด าเนินการวิจัยที่ให้ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธี

5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย หมายถึง การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องด าเนินการ
โดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ