มาตรการฝุ่น กทม.

มลพิษในพื้นที่

ภาพรวม

ขนส่ง

ภาพรวม

เจาะจงประเภท

ข้อเสนอรัฐบาล

อุตสาหกรรม

ตรวจโรงงานอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข

รายงานข้อมูล
- CEM (4)
- Third Party (31)

(69) ใช้ ม.80 ของ พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม
ดำเนินการกับรายอื่น

r

มาตรา 80 ของ พรบ.สวล.-        “เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ...มีหน้าที่ต้องเก็บสถิติและข้อมูลซึ่งแสดงผลการทำงานของระบบ...และจัดทำบันทึกรายละเอียดเป็นหลักฐานไว้...และจะต้องจัดทำรายงานสรุปผลการทำงานของระบบ...ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่”-        ปัจจุบันใช้ได้เฉพาะสำหรับน้ำเสียเนื่องจากคพ.ได้ทำประกาศไว้ ส่วนสำหรับมลพิษทางอากาศทางคพ. แจ้งว่าต้องเป็นกรมโรงงานที่รับผิดชอบ”-        ขั้นตอนถัดไป – หารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

(69) โครงการ "โรงงานนี้ลดฝุ่น"

r

โครงการภาคสมัครใจส่งเสริมให้โรงงานมีการลดกำลังผลิตในวันที่ฝุ่นสูง หรือมีการคาดการณ์ว่าฝุ่นจะสุงเช่น 3 วันที่ VR ต่ำกว่า 2,000 m2/s หรือเกณฑ์เดียวกับ WFH

(69) ขยาย LEZ ให้ครอบคลุมโรงงาน

โรงงานที่อยู่ในหมวดที่มีใบแนบท้าย (31)
+ CEM (4) + Boiler (236) จะต้องลดกำลัง
ผลิต xx % เมื่อมีการประกาศ LEZ

ข้อเสนอรัฐบาล

ติดตั้ง CEMs หรือมีการจัดทำรายงาน
ทุกโรงงานที่มี Boiler

r

ติดตั้งเครื่องตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติอย่างต่อเนื่อง (Continuous Emission Monitoring Systems: CEMS) ทุกโรงงาน หรือจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากสถานประกอบกิจการ/โรงงานที่มีหม้อไอน้ำทุกแห่ง พร้อมทั้งจัดส่งผลให้กรุงเทพมหานครทราบทุกเดือน(กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ เพื่อรายงานมลพิษอากาศจากปล่องโรงงาน พ.ศ. 2565 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558 )

ศึกษาผลกระทบจากอุตสาหกรรม
ขนาดใหญ่ใน กทม.

r

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น โรงกลั่นน้ำมัน โรงไฟฟ้า เพื่อวิเคราะห์สารมลพิษและผลกระทบต่อสุขภาพ ตลอดจนการกำหนดมาตรการลดและควบคุมแหล่งกำเนิดฝุ่นละอองขนาดเล็กและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและสารมลพิษที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เมือง (กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : พระราชบัญญัติบริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด พ.ศ. ....)

เผา

เกษตร

เครื่องอัดฟาง

r

เกษตรกรยืมใช้ เพื่อลดการเผาวัสดุทางการเกษตรปัจจุบันมีกลุ่มเกษตรกรที่มีความประสงค์จะยืมรถอัดฟาง จำนวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเกษตรกรเขตหนองจอก 2 กลุ่มกลุ่มเกษตรกรเขตคลองสามวา 1 กลุ่มซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2,000 – 3,000 ไร่ โดยสำนักงานเขตอยู่ระหว่างพิจารณาเอกสาร

(69) ขอเพิ่มอีก 20 คันจากโครงการ BOI

"แปลงนี้ไม่เผา"
+ Farmer Market

(69) ขยายตลาด + ช่องทางการขาย

มอบจุลินทรีย์
ร่วมกับกรมวิชาการเกษตร

r

มี สสส. มาช่วยทำ Branding ของตัวจุลินทรีย์

ระบบดึงน้ำ
เข้าแปลงนา

r

สามารถช่วยให้เกษตรกรเช้าถึงนำ้ได้สะดวก สำหรับเวลาจะต้องเอานำ้เช้าเพื่อใส่จุรินทรีย์

เผาที่โล่ง

เหตุเดือดร้อนรำคาญ
(ยกระดับจาก พ.ร.บ. รักษา)
20,000 > 50,000 + โทษจำ

สภาพอากาศ

โครงการเจาะเพดานอากาศของกรมฝนหลวง

r

สนับสนุนน้ำแข็งแห้งแก่ทีมฝนหลวงเพื่อลดฝุ่นในกรุงเทพมหานครและประสานบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด

เผาชีวมวลนอก กทม.

คณะกรรมการกรุงเทพและปริมณฑล (อนุฯด้านสิ่งแวดล้อม)

ช่วยติดตาม/ประสานจุดเผา ผ่านระบบดาวเทียม

(69) เอาเครื่องอัดฟางที่ว่างอยู่ไปให้เกษตรกรในจังหว้ดปริมณฑลใช้

ข้อเสนอรัฐบาล

ควบคุมการเผาชีวมวลรอบพื้นที่กรุงเทพมหานคร

r

ทำนโยบายทั้งระยะสั้นและระยะยาวในการควบคุมและจัดการการเผาชีวมวลรอบพื้นที่กรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งการช่วยเหลือและสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรไม่เผาชีวมวลในพื้นที่ทำการเกษตร (กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535)