การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

การวิเคราะห์สารสนเทศ

ความหมาย

กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ

สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันหรือค้นได้จากคำสำคัญเดียวกัน

กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ

การอ่านเนื้อหาที่ผ่านการประเมินแล้วว่าสามารถใช้งานได้จริงๆ

ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็น

ทำการบันทึกเนื้อหาลงใน บัตรบันทึก

น้ำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มเพื่อเรียบเรียงเนื้อหาของรายงาน

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ

อ่านจับใจความสำคัญของสารสนเทศ

พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็น

บันทึกสารสนเทศดที่สอดคล้อง

จัดกลุ่มเนื้อหา

บัตรบันทึกความรู้

ส่วนประกอบ

หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร

แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณนุกรม

เลขหน้าที่ปรากฎของข้อมูล

ข้อความที่บันทึก

วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

แบบย่อความหรือสรุปความ

อ่านเอกสารที่กำลังบันทึก

วิเคราะห์เนื้อหาและเก็บสาระสำคัญ

ประเเด็นรองหรือรายละเอียดที่เป็นสาาระที่สำคัญรองลงมา

แบบคัดลอกข้อความ

เป็นคำจำกัดความ หรือความหมายของคำ

เป็นสูตร กฎหรือระเบียบข้อบังคับ

เป็นข้อความซึ่งมีเนื้อหาสาระที่หนักแน่น กะทัดรัด ลุ่มลึก เฉียบคมและกินใจ

เป็นข้อความซึ่งเป็ฯคติเตือนใจ มีความงามและความไพเราะทางภาษา

แบบถอดความ

ต้นฉบับเป็นรอยกรอง แต่ต้องเปลี่ยนเป็นร้อยแก้ว

ต้นฉบับเป็นภาษาที่ไม่แพ่หลายคุ้นเคย

ต้นฉบับเป็นภาษาต่างประเทศ

การนำเสนอสารสนเทศ/การนำเสนอผล

ขั้นตอนนี้ มีความเชื่อโยงกันระหว่าง ขั้นตอนที่ 1 Task definition (ตอนแรกตั้งจุดประสงค์ไว้อย่างไร/สามารถปรับในภายหลังได้)

ต้องพิจารณาด้วยว่ารูปแบบที่ใช้เหมาะสมกับหัวข้อหรือปัญหาที่ได้รับหรือไม่

รูปแบบการนำเสนอ

ปัจจุบันมีหลายทางที่ใช้ในการนำเสนอ

เทคโนโยลีบทบาทสำคัญมากขึ้น

ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอ

นิทรรศการ

รายงาน

แผ่นพับ

โครงงาน

ภาพยนตร์

วิดิทัศน์

เกม

บอร์ด

สไลด์

การแสดงละคร

PPt

Web page

E-book

Oral/Oral report

การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด

ขั้นตอนการสร้าง Mind Map

เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งลกางหน้ากระดาษ

เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบๆ

เขียน/วากมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อยๆ

ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด

เขียนคำสำคัญบนเส้นและเส้นต้อเงชื่อมโยงกัน

กรณีใช้สี ทั้งมโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน

คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ

วิธ๊การเขียน Mind Map

เตรียมกระดาษเปล่าไม่มีเส้นและวางกระดาษแนวนอน

วาดภาพสีหรือเขียนโดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี

คิดถึงหัวเรื่องสำคัญมี่เป็นส่วนประกอบของเรื่อมราทำเป็นคำสำคัญสั้นๆ

แตกความคิิดของหัวเรื่องสำคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่งๆ

แตกความคิดรองลงไปที่เป็ฯส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง

การเขียนคำ ควรเขียนด้วยคำที่เป็นสำคัญ

คำ วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องเน้นต้องทำให้เด่น

ตกแต่ง mindmap

การนำไปใช้งาน

ใช้ระดมพลังสมอง

ใช้นำเสมอข้อมูล

ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำ

ใช้วิเคราะห์เนื้อหาหรืองานต่างๆ

ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้

หลักเกณฑ์์ในการพิจารณา

พิจารณาความน่าเชื่อถือ

ความถูกต้องของสารสนเทศ

เปรียบเทียบแหล่งที่มาของสารสนเทศกับสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งอื่นๆว่าสอดคล้องหรือแตกต่างกันอย่างไร

มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม่

เป็นสานสนเทศปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ

การเขียน กาารสะกดคำ ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

ความเที่ยงตรง

พิจารณาเนื้อหาว่ามีส่วนใดที่ทำให้เกิดความลำเอียง

ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นหรือไม่

พิจารณาแหล่งที่มาชองสารสนเทศ

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

ผู้จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักดีในสาขาวิชานั้นหรือไม่

จัดพิมพ์จำนวนมากหรือนอยเพียงใด

เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม่

ผู้จัดพิมพ์เป็นองค์กรหรือสมาคมมืออาชีพที่มีประสบการณ์หรือไม่

พิจารณาผู้แต่ง

มีชื่อเสียงเป็นที่ยอบับหรือไม่

มีคุณวุฒิปละประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนหรือไม่

มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องในที่อื่นๆอีกหรือไม่

พิจารณาขอบเขตเนื้อหา

เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์

เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครอบคลุมหัวข้อเรื่อง

เป็นสารสนเทศให้ความรู้ในระดับใด

ถ้สเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ให้ดูมีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาอย่างไร เพื่อตอบโจทย์คำถามอะไร

ต้องการสารสนเทศจากแหล่งใด หรือรูปแบบใด

ต้องการใช้สารสนเทศไปทำอะไร

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

สารสนเทศถูกจัดพิมพ์เผยแพร่เมื่อใด

สารสนเทศที่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่จัดพิมพ์ ต้องพิจารณาที่มาอย่างละเอียด

เป็นสารสนเทศที่ทันสมัย จัดพิมพ์ใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ถ้าเป็นสารสรเทศจาดอินเทอร์เน็ต ให้ดูเวลาในการปรับปรุงเว็บไซต์

การประเมินสารสนเทศ

ความหมาย

การตรวจสอบสารสนเทศว่าสามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็ฯ

การตรวจสอบสารสนเทศว่ามีคำอธิบายที่เป็ฯเหตุเป็นผล

การตรวจสอบสารสนเทศว่ามีเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ความสำคัญ

คัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ

คัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศต่างๆทั้งจาก ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เป็นต้น

หลักการประเมินสารสนเทศ

พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ

ประเมินความน่าเชื่อถือของ ผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์

ประเมินความน่าเชื่อถือของ ทรัพยากรสารสนเทศ

ประเมินความทันสมัยของสารสนทศ

พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยูในระดับใด

สารสนเทศปฐมภูมิ

วารสาร

รายงานการวิจัย

วิทยานิพนธ์

สารสนเทศทุติยภูมิ

หนังสือ

บทคัดย่องานวิจัย

บทวิจารณ์หนังสือ

วารสารสาระสังเขผ

สารสนเทศตติยภูมิ

บรรณานุกรม

ดรรชนีวารสาร

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ต้องมีความถูกต้อง

มีความน่าเชื่อถือ

ต้องมีความสมบูรณ์

สอดคล้องกับความต้องกาารของผู้ใช้

เข้าถึงได้ง่าย

ตรวจสอบได้

ทันต่อความต้องการใช้

มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน

การเลือกใช้สารสนเทศ

ต้องผ่านกระบวนการ

การประเมินสารสนเทศ

การวิเคราะห์สารสนเทศ

การสังเคราะห์สาารสนเทศ

การสังเคราะห์สารสนเทศ

การสังเคราะห์คือ

การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้

จัดกลุ่มอีกครั้งในลักษณะลำดับชั้นหรือรูปแบบของโครงร่าง

ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล

รวบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล/เนื้อหาใหม่

นำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม

เพื่อแก้ไขปัญหา ตอบคำถามที่กำหนดไว้

หรือนำไปใช้ได้ตรงกับความต้องการ

ขั้นตอนนี้จึงต้องเรียนรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง

การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของแนวคิด/เรื่อง

การวางโครงร่าง

การเขียนการอ้างอิงและบรรณานุกรม

การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป

จัดกลุ่ม(ประเด็นใหญ่/ประเด็นย่อย)

เรียงตามลำดับอักษร

ตามลำดับเวลา ( เช่น เหตุการณ์)

ตั้งแต่ต้นจนจบ ( เช่น story)

ใช้หลายๆวิธีข้างต้นผสมผสานกัน

วิธีการจัดสารสนเทศ สามารถทำได้แบบง่ายๆ

นำเอกสารมาอ่านอีกครั้ง

ทำ Highlight / Mark ที่สำคัญ

ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของเรื่องหรือข้อมูล

จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัดกลุ่มใหม่อีกครั้ง

จะได้กลุ่มข้อมูลหรือโครงร่างคราวๆ

กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ

จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน

นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น

นำแนวคิดต่างๆมารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง

ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่

ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่

การเขียนโครงร่าง

บทนำ

เนื้อหา

บทสรุป