แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาการ
เกษตรและสหกรณ์การเกษตร

แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนางานสหกรณ์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กับงานด้านการสหกรณ์

กำเนิดสหกรณ์

สนับสนุนเกษตรกรใช้วิธีการสหกรณ์

รากฐานที่ดีของระบอบประชาธิปไตย

สอนให้คนรู้จักรับผิดชอบร่วมกัน

ให้มีการเลือกตัวแทนเข้าไปบริหารสหกรณ์

รู้ถึงคุณค่าของประโยชน์อันจะได้ร่วมกันเป็นส่วนรวม

แนวพระราชดำริในด้านการเกษตรและสหกรณ์

1) โครงการตามพระราชประสงค์หนองพลับ

เกษตรได้เข้าหักร้านถางป่าโดยพลการและเพิ่มจ านวนมากขึ้นทุกปี

ท าให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรของ ประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง

ดังนั้นพระองค์จึงทรงมีพระราชด าริให้มีการปฏิรูปและพัฒนาที่ดินโดยทรงเลือกพื้นที่ ป่าสงวน

เพื่อท าการจัดพัฒนาที่ดินและจัดสรรให้กับเกษตรกรเหล่านี้เข้าท าประโยชน์

2) โครงการพัฒนาลุ่มน้ำเข็กตามพระราชดำริ จังหวัดเพชรบูรณ์

จุดประสงค์ของโครงการเป็นการจัดให้มีหมู่บ้านนิคมสหกรณ์การเกษตรทางทหาร

กองหนุนตามสองข้างเส้นทางยุทธศาสตร์ ในพื้นที่ทุ่งสมอ เขาค้อ และเขาข่าง ทั้งหมด

๑๐๖,๒๕๐ ไร่ ให้ผู้ประกอบอาชีพทางเกษตรมีฐานะความเป็นอยู่ดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้

3) โครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา จังหวัดปราจีนบุรี

โครงการนี้ซึ่งมีพื้นที่โครงการทั้งหมด ๔๐๔,๗๓๐ ไร่ มีความเป็นมาโดยสรุปกล่าวคือ พื้นที่ราบเชิงเขาบรรทัด

เป็นพื้นที่ที่มีการแทรกซึมของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ มีราษฎรอาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนที่เสื่อมโทรมหมดสภาพแล้ว ราษฎร

เหล่านี้ ประกอบอาชีพหลักด้วยการทำนาทำไร่ มีฐานะยากจน การประกอบอาชีพทาง การเกษตรต้องประสบปัญหา เพราะ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์และขาดแคลนแหล่งน้ำ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ได้ทรงทราบปัญหาความเดือดร้อนดังกล่าวจึง มีพระราชดำริให้พัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขานี้ขึ้น

4) โครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ยากจน ไม่มีที่ทำกิน

เป็นของตนเองให้มีที่ดินทำกินตลอดชั่วลูกชั่วหลาน แต่กรรมสิทธิ์ในที่ดินทำกินยังคง

เป็นของหมู่บ้านสหกรณ์ เริ่มดำเนินโครงการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 พื้นที่โครงการทั้งหมด 22,000 ไร่

5) โครงการตามพระราชดำริทุ่งลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

พื้นที่โครงการ 15,000 ไร่ รวบรวมเกษตรกรในโครงการจดทะเบียน

เป็น สหกรณ์การเกษตรทุ่งลิปะสะโง จำกัด เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2522

6) โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่

ส่งเสริมให้สมาชิกรวมกลุ่มอาชีพตามความถนัด

เช่น การเลี้ยงโค การเลี้ยงสุกร การ ปลูกข้าวโพด และปลูกมันสำปะหลัง สหกรณ์ให้การส่งเสริมทางด้านข้อมูลวิชาการ

และให้มีการจัดทำบัญชีฟาร์มเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการติดตามผลประเมินผลสำเร็จ

7) โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื้นที่ชายแดน

วัตถุประสงค์เน้นการส่งเสริมอาชีพราษฎร ควบคุมให้ความปลอดภัยราษฎรในพื้นที่เป้าหมาย

จัดที่ทำกินและที่อยู่อาศัย ให้ราษฎร ตลอดจนจัดระบบและวางแผนการส่งเสริมทุกรูปแบบที่ครบวงจรให้แก่ราษฎร

แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตร

จุดมุ่งหมายในการพัฒนาการเกษตร

สร้างพื้นฐานให้มั่นคง โดยให้ประชาชนพอมีพอกินพอใช้ สามารถพึ่งตนเองได้เสียก่อน

สร้างชุมชนให้เข้มแข็งพึ่งตนเองได้
เน้นการพัฒนาที่สอดคล้องกับความสามารถ และความต้องการของชุมชน ( “ระเบิดจากข้างใน” )

ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
ยึดหลักการปรับปรุง/ดัดแปลงทรัพยากรให้เกิดประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด และเตรียมวิธีการแก้ไข

เป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรเพื่อน าผลไปทดลองปฏิบัติในพื้นที่อื่น
ตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นแบบเพื่อขยายผล และเรียนรู้สิ่งผิดสิ่งถูก

วิธีการพัฒนาการเกษตรตามแนวพระราชดำริ

-ศึกษาพื้นฐานเดิมของสังคเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรมของสังคม

-ศึกษาข้อมูลของพื้นที่

-ใช้หลักวิชาการ

-กระทำค่อยเป็นค่อยไปอย่างเป็นขั้นตอน

-ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

-รวมกลุ่มประชาชน

-วางระบบการทำงานที่มีลักษณะบูรณาการ

แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตร

การพัฒนาการเกษตร: งานด้านการปลูกพืช

1) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการปลูกข้าว

ดำเนินการวิจัยและส่งเสริมการปลูกข้าวนาสวน ข้าวไร่ และปรับปรุงระบบการผลิตข้าว

2) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการปลูกกาแฟ

ได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาให้ศึกษาค้นคว้าหาพันธุ์ กาแฟอาราบิก้าที่ทนต่อโรคราสนิม ได้แก่ พันธุ์ Baltimore

3) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการปลูกไม้ผล

พัฒนาการเกษตรในพื้นที่ราบเชิงเขา
เริ่มดำเนินการทดลองการปลูกพลับและสาลี่

4) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการเพาะเห็ด

ใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น เช่น ขี้เลื่อย ไม้ ยางพาราผสมกับดินพรุปรับสภาพให้เป็นกลาง
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ จังหวัดนราธิวาส

จัดหาอุปกรณ์เพื่อดำเนินการฝึกอบรม
เห็ดฟาง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ
สาธิตการท าเชื้อและเพาะเห็ดให้แก่ราษฎร
จังหวัดสกลนคร

ใช้ฟางข้าวและเศษต้นถั่วเหลืองเป็นวัสดุ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินช้อนฯ
ในการเพาะ

พัฒนาโรงเพาะเห็ดให้เก็บความขึ้นได้ดีขึ้น
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ
และมีการเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุเหลือใช้

แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตร

5) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการปลูกหม่อนไหม

ศึกษาวิจัยพันธุ์หม่อนและพันธุ์ไหม ทั้งพันธุ์พื้นเมืองและลูกผสม
และขยายผลสู่เกษตรกรชาวไทยภูเขาเพื่อปลูกทดแทนการปลูกฝิ่น

6) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการปลูกยางพารา

ทดสอบการปลูกยางพันธุ์ดีในพื้นที่ ๒๐ ไร่ ในบริเวณพระตำหนัก ทักษิณราชนิเวศน์ รวมทั้งมีการปลูกพืชไร่ ไม้ดอกในระหว่างแถวยาง

7) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์พืช

๑. การคัดพันธุ์

เช่น ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวฟ่าง ผัก และดอกไม้ประดับ

๒. การสร้างพันธุ์ลูกผสม

นำพืชประเภทใหม่และพันธุ์ใหม่ มาปลูกบนพื้นที่สูง

๓. การปลูกพืชเมืองหนาว

8) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับระบบการเกษตร

พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับระบบการปลูกพืช ดังนี้

๑. การปลูกพืชหมุนเวียน ภายหลังการเก็บเกี่ยวข้าว

ให้เกษตรกรสามารถมีอาหารไว้บริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือขายพึ่งตนเองได้

๒. การปลูกพืชผสมผสาน “ทฤษฎีใหม่” การใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด แทนสารเคมี

๓. เกษตรกรรมยั่งยืนหรือเกษตรธรรมชาติ

นางสาวนลพรรณ รู้จำ 63161618