การเขียนโครงร่างงานวิจัย
การวิจัย
กระบวนการค้นหาความรู้ ข้อเท็จจริง อย่างมีระเบียบ มีกฎเกณฑ์ในการ
รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และแปลความข้อมูล
เพื่อแสวงหาคาตอบ สาหรับคาถามหรือประเด็นการศึกษาที่ตั้งไว้
ด้วยกระบวนการ อันเป็นที่ยอมรับ ในแต่ละสาขาวิชา
ซ่ึงในทางการแพทย์ นิยมใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพราะเชื่อว่าวิธี
น้ีมีความถูกต้อง เชื่อถือได้มากที่สุด
การเขียนโครงร่างการวิจัยที่ด
ความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ของผู้ที่จะการวิจัยว่าจะทาวิจัย เรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์อะไร จะใช้ระเบียบวิธีการศึกษาอะไรและอย่างไร และงานวิจัยนั้นมีประโยชน์อะไรบ้าง
หากผู้ที่ทาวิจัยไม่มีความชัดเจนในเรื่องต่างๆเหล่านี้แล้ว ก็ยากท่ีจะเขียน ข้อเสนอโครงการวิจัยท่ีดีได้
4. คาถามของการวิจัย (research question )
ผู้วิจัยต้องกาหนดปัญหาขึ้น (problem identification) และให้นิยามปัญหาน้ัน อย่างชัดเจน เพราะปัญหาที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้วิจัย กาหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรท่ีสาคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่าน้ันได้
ถ้าตั้งคาถามท่ีไม่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจ ว่าจะศึกษาอะไร ทา ให้การวางแผนในขั้นต่อไป เกิดความสับสนได้
คาถามของการวิจัยต้องเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ์กับเร่ืองที่จะศึกษา เป็นคาถามหลัก (primary research question) เพ่ือใช้ในการคานวณขนาดของ ตัวอย่าง (sample size)
ผู้วิจัยอาจกาหนดให้มีคาถามรอง (secondary research question) ก็ได้ ซ่ึง คาถามรองน้ี มีความสาคัญรองลงมา แต่ผลของการวิจัยอาจไม่สามารถตอบคาถาม รองน้ีได้ ท้ังนี้เพราะการคานวณขนาดตัวอย่างไม่ได้คานวณเพ่ือตอบคาถามรอง
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (objectives)
เป็นการกาหนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้าง ในเร่ืองที่จะทาวิจัย
ต้องชัดเจน และเฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ
โดยบ่งช้ีถึง ส่ิงท่ีจะทา ท้ังขอบเขต และคาตอบที่คาดว่าจะได้รับ ท้ังในระยะส้ัน และ
ระยะยาว การต้ังวัตถุประสงค์ ต้องให้สมเหตุสมผล กับทรัพยากรท่ีเสนอขอ และ เวลาท่ีจะใช้ จาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. วัตถุประสงค์ทั่วไป (General Objective) กล่าวถึงส่ิงที่ คาดหวัง (implication) หรือส่ิงที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนี้ เป็นการแสดงรายละเอียด เก่ียวกับจุดมุ่งหมาย ในระดับกว้าง จึงควร ครอบคลุมงานวิจัยที่จะทาท้ังหมด
เช่น เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระดับน้าตาลในเลือดกับการออกกาลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงส่ิงที่จะเกิดขึ้นจริง ในงานวิจัยนี้ โดยอธิบายรายละเอียดว่า จะทาอะไร โดยใคร ทามากน้อยเพียงใด ที่ไหน เม่ือไร และเพ่ืออะไร โดย การเรียงหัวข้อ ควรเรียงตามลาดับความสาคัญ ก่อน หลัง ตัวอย่างเช่น
2.1 เพื่อศึกษาระดับน้าตาลของผู้ป่วยเบาหวาน
2.2 เพื่อศึกษารูปแบบการออกกาลังกายของผู้ป่วยเบาหวาน
2.3 เพื่อศึกษาผลของการออกกาลังกายกับระดับน้าตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวาน
10
6.สมมติฐาน (Hypothesis) และกรอบแนวคิดในการวิจัย
การต้ังสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือการทายคาตอบอย่างมีเหตุผล มักเขียนใน ลักษณะ การแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น(independent variables) และตัวแปรตาม (dependent variable)
สมมติฐานทาหน้าท่ีเสมือนเป็นทิศทาง และแนวทาง ในการวิจัย จะช่วยเสนอแนะ แนวทางในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป สมมติฐานต้องตอบ วัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ครบถ้วนและทดสอบและวัดได้
8. การให้คานยิ ามเชิงปฏิบตั ทิ จี่ ะใช้ในการวิจัย
ในการวิจัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคา (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต้องให้คาจากัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation)
หรือวัด (measurement) ได้
ไม่เช่นน้ันแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คาว่า คุณภาพ
ชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้น
10. ระเบียบวิธีวิจัย (research methodology
10.1 วิธีวิจัย จะเลือกใช้วิธีวิจัยแบบใด เช่น จะใช้การวิจัยเอกสาร การวิจัยแบบทดลอง
การวิจัยเชิงสารวจ การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือจะใช้หลายๆ วิธีรวมกัน ซึ่งก็ต้องระบุ
ให้ชัดเจนว่าจะใช้วิธีอะไรบ้าง
10.2 แหล่งข้อมูล จะเก็บข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง เช่น จะเก็บข้อมูลทุติยภูมิ จากทะเบียน
ราษฎร์ สมุดสถิติรายปี สามะโนประชากรและเคหะ ฯลฯ หรือจะเป็นข้อมูลปฐมภูมิ
จากการสารวจ การสนทนากลุ่ม การสังเกต การสัมภาษณ์ระดับลึก ฯลฯ เป็นต้น
10.3 ประชากรท่ีจะศึกษา ระบุให้ชัดเจนว่าใครคือประชากรท่ีต้องการศึกษา และกาหนด คุณลักษณะของประชากรท่ีจะศึกษาให้ชัดเจน เช่น เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา เขตท่ีอยู่อาศัย บางคร้ังประชากรท่ีต้องการศึกษาอาจไม่ใช่ปัจเจกบุคคลก็ได้
เช่น อาจเป็นครัวเรือน หมู่บ้าน อาเภอ จังหวัด ฯลฯ ก็ได้
10.4 วิธีการสุ่มตัวอย่าง ควรอธิบายว่าจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบใด ขนาด
ตัวอย่างมีจานวนเท่าใด จะเก็บข้อมูลจากท่ีไหน และจะเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างได้
อย่างไร
10.5 วิธีการเก็บข้อมูล ระบุว่าจะใช้วิธีการเก็บข้อมูลอย่างไร มีการใช้เคร่ืองมือและ
ทดสอบเครื่องมืออย่างไร เช่น จะใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ การ
สัมภาษณ์แบบมีแบบสอบถาม การสังเกต หรือการสนทนากลุ่ม เป็นต้น
10.6 การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ระบุการประมวลผลข้อมูลจะทา อย่างไร จะใช้เคร่ืองมืออะไรในการประมวลผลข้อมูล และในการวิเคราะห์
ข้อมูลหรือการทดสอบสมมติฐานจะทาอย่างไร จะใช้สถิติอะไรบ้างในการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้สามารถตอบคาถามของการวิจัยท่ีต้องการได้
12. งบประมาณ (budget)
การกาหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพ่ือการวิจัย ควรบ่างเป็นหมวดๆ ว่าแต่ละหมวดจะ ใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทาได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึ่งของการแบ่ง หมวด คือ แบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่
12.1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
12.2 ค่าใช้จ่ายสาหรับงานสนาม
12.3 ค่าใช้จ่ายสานักงาน
12.4 ค่าครุภัณฑ
12.5 ค่าประมวลผลข้อมูล
12.6 ค่าพิมพ์รายงาน
12.7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดาเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัย
เมื่อจบโครงการแล้ว
12.8 ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ
14. ภาคผนวก (appendix)
ส่ิงท่ีนิยมเอาไว้ท่ีภาคผนวก เช่น แบบสอบถาม แบบฟอร์มในการเก็บหรือบันทึก ข้อมูล
เม่ือภาคผนวก มีหลายภาค ให้ใช้เป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ
การเขียนโครงร่างการวิจัย
ทาให้ผู้วิจัยทราบขั้นตอนและรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของการทาวิจัย
ใช้เป็นเครื่องมือในการพิจารณาขออนุมัติทาวิจัย หรือขอทุนสาหรับทาวิจัย เพื่อให้ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่า การวิจัยที่จะทานั้นมีระเบียบวิธีการวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ในการทาวิจัยให้สาเร็จ และประโยชน์ สมควรได้รับการ
อนุมัติให้ทาการวิจัยได้
1. ชื่อเรื่อง (the title)
ชื่อเรื่องควรมีความหมายสั้น กะทัดรัดและชัดเจน
ระบุถึงเรื่องที่จะทาการศึกษาวิจัย ว่าทาอะไร กับใคร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด หรือ ต้องการผลอะไร
ยกตัวอย่างเช่น ประสิทธิผลของการออกกาลังกายกับการลดระดับน้าตาลในเลือดใน ผู้ป่วยโรคเบาหวานชุมชนสวนใหญ่ จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.....
การเลือกหัวเรื่องของการวิจัย ขึ้นอยู่กับ
1. ความสนใจของผู้วิจัย ควรเลือกเรื่องที่ตนเองสนใจมากที่สุด และควรเป็นเรื่องที่ไม่ ยากจนเกินไป
2. ความสาคัญของเรื่องที่จะทาวิจัย ควรเลือกเรื่องที่มีความสาคัญ และนาไปใช้ปฏิบัติ หรือสร้างแนวความคิดใหม่ๆ ได้
3. เป็นเรื่องที่สามารถทาวิจัยได้ ไม่มีผลกระทบอันเนื่องจากปัญหาต่างๆ เช่น ด้าน จริยธรรม ด้านงบประมาณ ด้านตัวแปรและการเก็บข้อมูล ด้านระยะเวลาและการ บริหาร ด้านการเมือง หรือเกินความสามารถของผู้วิจัย
4. ไม่ซ้าซ้อนกับงานวิจัยที่ทามาแล้ว อาจมีความซ้าซ้อนในประเด็นต่างๆ ที่ต้อง พิจารณาเพื่อหลีกเลี่ยง ได้แก่ ชื่อเรื่องและปัญหาของการวิจัย (พบมากท่ีสุด) สถานที่ที่ทาการวิจัย ระยะเวลาที่ทาการวิจัย วิธีการ หรือระเบียบวิธีของก
ข้อควรระวัง ในการตั้งชื่องานวิจัย
1. ไม่ชัดเจน คลุมเครือ
2. ยาวเกินไป
3. ไม่สอดคล้องกับประเด็นสาคัญท่ีต้องการศึกษา
2. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
หรือหลักการและเหตุผล ภูมิหลังของปัญหา ความจาเป็นที่จะทาการวิจัย
หรือ ความสาคัญของโครงการวิจัย ฯลฯ
ต้องระบุว่าปัญหาการวิจัยคืออะไร มีความเป็นมาหรือภูมิหลังอย่างไร
มีความสาคัญ รวมทั้งความจาเป็น คุณค่า และประโยชน์ ที่จะได้จาก
ผลการวิจัยในเรื่องนี้
ผู้วิจัยควรเริ่มจากการเขียนปูพื้นโดยมองปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา
อย่างกว้างๆ ก่อนว่าสภาพทั่วๆไปของปัญหาเป็นอย่างไร และภายในสภาพ
ที่กล่าวถึง มีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง
ประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยหยิบยกมาศึกษาคืออะไร ระบุว่ามีการศึกษาเกี่ยวกับ
เรื่องนี้ มาแล้วหรือยัง ที่ใดบ้าง และการศึกษาที่เสนอนี้จะช่วยเพิ่มคุณค่า ต่อ งานด้านนี้ ได้อย่างไร
5. ทฤษฎีและงานวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง
การเขียนการทบทวนวรรณกรรม โดยจัดลาดับหัวข้อหรือเน้ือเรื่องที่เขียนตามตัวแปร ท่ีศึกษา และในแต่ละหัวข้อเน้ือเร่ืองก็จัดเรียงตามลาดับเวลาด้วย เพ่ือให้ผู้อ่านได้เห็น
พัฒนาการต่างๆ ที่เก่ียวกับปัญหา
ู้วิจัยควรสรุปการทบทวนวรรณกรรม เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นความสัมพันธ์ ท้ังส่วน
ท่ีสอดคล้องกัน ขัดแย้งกัน และส่วนที่ยังไม่ได้ศึกษาท้ังในแง่ประเด็น เวลา สถานท่ี วิธี การศึกษาฯลฯ การเขียนส่วนน้ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อการต้ังสมมติฐานด้วย
7. ขอบเขตของการวิจัย
เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยท่ีจะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องจากผู้วิจัย ไม่สามารถทาการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น จึงต้องกาหนดขอบเขต ของการศึกษาให้แน่นอน ว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง
ซ่ึงอาจทาได้โดยการกาหนดขอบเขตของเร่ืองให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหน่ึงของ สาขาวิชา หรือกาหนดกลุ่มประชากร สถานท่ีวิจัย หรือระยะเวลา
9.ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการวิจัย(expected benefits and
application)
อธิบายถึงประโยชน์ที่จะนาไปใช้ได้จริง ในด้านวิชาการ เช่น จะเป็นการค้นพบทฤษฎี ใหม่ซึ่งสนับสนุนหรือ คัดค้านทฤษฎีเดิม และประโยชน์ในเชิงประยุกต์
เช่น นาไปวางแผนและกาหนดนโยบายต่างๆ หรือประเมินผลการปฏิบัติงาน เพ่ือหา แนวทางพัฒนาให้ดีขึ้น เป็นต้น โดยครอบคลุมท้ัง ผลในระยะสั้น และระยะยาว
ทั้งผลทางตรง และทางอ้อม และควรระบุว่า ผลประโยชน์เกิดกับใคร เป็นสาคัญ เช่น โครงการวิจัย ประสิทธิผลของการออกกาลังกายกับการลดระดับน้าตาลในเลือดใน ผู้ป่วยโรคเบาหวานชุมชนสวนใหญ่ จังหวัดนนทบุรี พ.ศ..... ส่วนผลกระทบ (impact) โดยตรง ในระยะยาว ก็อาจจะเป็น คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนนั้น ท่ีดีข้ึน ส่วนผลทางอ้อม ได้แก่ การกระตุ้นให้ผู้ป่วยเบาหวานออกกาลังกาย เป็นต้น
11. ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
ผู้วิจัยต้องระบุถึงระยะเวลาท่ีจะใช้ในการดาเนินงานวิจัยทั้งหมดว่าจะใช้เวลานานเท่าใด และต้องระบุระยะเวลาที่ใช้สาหรับแต่ละขั้นตอนของการวิจัย วิธีการเขียนรายละเอียดของ หัวข้อน้ีอาจทาได้ 2 แบบ ตามท่ีแสดงไว้ในตัวอย่างต่อไปน้ี (การวิจัยใช้เวลาดาเนินการ 12 เดือน)
13. เอกสารอ้างอิง (references) หรือ บรรณานุกรม (bibliography)
ตอนสุดท้ายของโครงร่างการวิจัย จะต้องมี เอกสารอ้างอิง หรือรายการอ้างอิง อัน ได้แก่ รายชื่อหนังสือ ส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนวิธีการ ท่ีได้ข้อมูลมา เพ่ือ ประกอบ การเอกสารวิจัยเร่ืองนั้น ๆ รายการอ้างอิง จะอยู่ต่อจากส่วนเนื้อเร่ือง และก่อน ภาคผนวก โดยรูปแบบท่ีใช้ควรเป็นไปตามสากลนิยม เช่น Vancouver Style หรือ APA(American Psychological Association) style
15. ประวัติของผู้ดาเนินการวิจัย (biography)
ประวัติของผู้วิจัย เป็นข้อมูลที่ผู้ให้ทุนวิจัยมักจะใช้ประกอบการพิจารณาให้ทุนวิจัย
ซึ่งถ้ามีผู้วิจัยหลายคนก็ต้องมีประวัติของผู้วิจัยที่อยู่ในตาแหน่งสาคัญๆ ทุกคนซ่ึง ต้องระบุว่า ใครเป็นหัวหน้าโครงการ ใครเป็นผู้ร่วมโครงการในตาแหน่งใด และใคร เป็นท่ีปรึกษาโครงการ
ประวัติผู้ดาเนินการวิจัย ควรประกอบด้วยประวัติส่วนตัว (เช่น อายุ เพศ การศึกษา) ประวัติการทางาน และผลงานทางวิชาการต่างๆ