ยาเสพติด

ประวัติสารเสพติด

กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการนำเอาโบรไมด์ (Bromide) มาใช้เป็นยาระงับประสาทและรักษาโรคลมชั

ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีผู้พบโคเคนและกัญชาซึ่งมีฤทธิ์ทำให้จิตใจสบายและมีการใช้โคเคนเป็นยาชาเฉพาะที่

สงครามโลกครั้งที่ 2 แอมเฟตามีนถูกนำมาใช้เพื่อให้ร่างกายมีกำลังกระฉับกระเฉงอยู่ตลอดเวลาในหมู่ทหารหลายๆประเทศ

ค.ศ. 1960-1970 ยาหลอนประสาทเริ่มถูกนำมาใช้และใช้มาก

ค.ศ.1970 ผู้เสพส่วนใหญ่เป็นชาวอเมริกันวัยรุ่นที่มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลาง

ชนิดของสารเสพติดที่เเพร่หลายในปัจจุบัน

แอมเฟตามีนหรือยาบ้า

อีเฟดีนหรือยาอี

ฝิ่น

มอร์ฟีน

เฮโรอีน

โคเคน

กัญชา

สารระเหย

โทษและพิษภัยของสารเสพติด

ต่อผู้เสพ

r

มีผลต่อระบบประสาทและระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ตลอดจนจิตใจของผู้ที่เสพเสมอ

ต่อครอบครัว

r

เสื่อมเสียชื่อเสียงของตนเองและครอบครัวแล้ว ยังทำให้ผู้เสพกลายเป็นบุคคลที่ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัว ไม่ห่วงใย ดูแลครอบครัวอย่างที่เคยปฏิบัติ ทำให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่

ต่อสังคมและเศรษฐกิจผู้ที่เสพยาเสพติด

r

เป็นผู้ที่มีความรู้สึกว่าตนเองด้อยโอกาสทางสังคมแล้ว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมที่นำไปสู่ปัญหาสังคมส่วนรวม

ต่อประเทศชาติ

r

เป็นผู้ที่บ่อนทำลายเศรษฐกิจ และความมั่นคงความสงบสุของประเทศชาติ 

ประเภทสารเสพติด

จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง

1. กดประสาท

2. กระตุ้นประสาท

3. หลอนประสาท

4. ออกฤทธิ์ผสมผสาน

จำแนกตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่5) พ.ศ. 2545

1. ยาเสพติดชนิดให้โทษรายแรง

2. ยาเสพติดให้โทษทั่วไป

3. ยาเสพติดให้โทษชนิดเป็นตำรับยาที่มียาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1และ 2 ปรุงผสมอยู่ด้วย

4. สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และ 2

5. พืชเสพติดให้โทษ

วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด

ทดลองด้วยยา

การเก็บปัสสาวะหรือเลือด