การเขียนรายงานเชิงวิชาการ

ความหมาย

สิ่งพิมพ์ที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ จากการศึกษา
ค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์ การสํารวจ การ
สัมภาษณ์ เป็ นต้น อาจจะเขียนขึ้นเพื่อประกอบการศึกษา
ค้นคว้า สําหรับวิชาใดวิชาหนึ

ประเภทของรายงาน

รายงานวิชาการ (Reports)

ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริม เนื้อหาที่เรียนใน
รายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ในแต่ละภาคการศึกษา

ภาคนิพนธ์(Term paper)

มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่าใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา

วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)

เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญา มหาบัณฑิต (Thesis)ปริญญาดุษฎี บัณฑิต (Dissertation)

รายงานการวิจัย (Research)

เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะเดียวกับการทําวิทยานิพนธ์

ขั้นนตอนการเขียนรายงาน

เลือกและกำหนดหัวข้อการทำรายงาน

อ่านข้อมูลหัวข้อเนื่อหาเพื่อเป็นพื้นฐานความรู้และกำหนดวัตถุประสงค์

จัดทำเค้าโครงรายงาน

รวบรวมบรรณานุกรม

อ่านและจดบันทึก

การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ

การจัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย

การเรียบเรียงรายงาน

การเขียนรายการอ้างอิลและบรรณานุกรม

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

ประโยชน์ของการทํารายงาน

ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ

ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ

ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง

ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะใน
การแก้ไขปัญหา

เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ

ส่วนประกอบของรายงาน

หน้าปก

ใบรองปกหลัง หน้าปกใน

คํานํา กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

เนื้อหา บรรณานุกรม

ภาคผนวก ใบรองปก ปกหลัง

ขั้นตอนการทํารายงาน

กำหนดชื่อเรื่อง

วางโครงร่างของเนื้อหา

คิดคำสำคัญ / คำค้น

เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ

สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็นเครื่องมือ

ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ

เรียบเรียงและนำเสนอรายงาน