สังคมความรู้ (Knowledge)
ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Societu Era)
สังคมความรู้ยุคที่1
การเข้าถึงความรุ้ด้วยวิธีการต่างๆ ( Knowledge Access )
การประเมินความถูกต้องของความรุ้ ( Knowledge Validation )
การตีค่า การตีความรู้ ( Knowledge Valuation )
การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ ( Knowledge Optimization)
การกระจายความรู้ ( Knowledge Dissemination)
สังคมความรู้ยุคที่ 2
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการประยุกตืความรุ้มาใช้ภายในสังคม
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
เน้นการจัดการเรียนรู้เป้นปัจจัยหลัก
ประชาชนได้รับโอกาศการพัฒนา (Key individuals)
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key institutions)
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมนมแห่งการเรียนรู้
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
ทุกคนเป็นครูและผุ้เรียน
นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง
กระบวนการจัดความรู้ (Processes Of Knowledge)
การบ่งชี้ความรู้
การสร้างและแสวงหาความรุู้
การจัดความรู้ให้เป้นระบบ
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การเข้าถึงความรู้
การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันเปลี่ยนความรู้
การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
ความรู้ (knowledge)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ " ความรู้ "
ความหมายของข้อมูล (Data)
ตัวเลข
อักษร
กราฟิก
ภาพสัญลักษณ์
เสียง
ความหมายสารสนเทศ (Information)
ความหมายของความรู้ ( Definition of Knowledge)
ประเภทรูปแบบความรู้
Tacit Knowledge
Explicit Knowledge
ความรู้รอบตัว
ความรู้ด้านภาษา
ความรู้วิชาการ
ความรู้ใหม่