สังคมความรู้
(Social Knowledge)
1. นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)
2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นัวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้
2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และพึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker
3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)
แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้
5.1 การบ่งชี้ความรู็
5.2 การสร้างและแสวงหาความรู้
5.3 การจัดการความรู็ให้เป็นระบบ
5.4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5.5 การเข้าถึงความรู้
5.6 การจัดการความรู้ในองค์กร
5.7 การรียนรู้
4. ความรู้ (Knowledge)
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งคำทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสารสนเทศและความรู้ไว้ดังนี้
4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
Davenport and Prusak กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและการกระทำต่างๆ