สิรินภา ศุภศิริโชติ

พอลิเมอร์

เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เกิดจากสารโมเลกุลเล็ก
ที่เรียกว่า มอนอเมอร์ มาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกัน

พอลิเมอร์ ได้จากการ สังเคราะห์ คาร์โบไฮเดรต

การเรียกชื่อของ พอลิเมอร์

ใช้หน่วย/มอนอเตอร์

มีคำว่า พอลิ เสมอ

ประเภทของพอลิเมอร์

แบ่งตามลักษณะการเกิด 2 ประเภท

พอลิเมอร์ธรรมชาติ

เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
เช่น โปรตีน แป้ง ยางธรรมชาติ

พอลิเมอร์สังเคราะห์

เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ของมนุษย์
เช่น พลาสติก ไนลอน

เกิดจากการนำ มอนอเมอร์มาสังเคราะห์ ผ่านกระบวนการ พอลิเมอร์
เรียกว่า ปฎิกิริยา พอลิไรเซชั่น

แบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์ 2 ประเภท

โฮโมพอลิเมอร์/พอลิเมอร์เอกพันธ์

พอลิเมอร์ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน
เช่น แป้ง เซลลูโลส ไกลโคเจน

โคพอลิเมอร์/พอลิเมอร์ร่วม

พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ต่างชนิดกัน
เช่น โปรตีน ไนลอน 6,6

สมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร์
- มีอยู่ 3แบบ
- ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของพอลิมอร์

1.โครงสร้างแบบเส้น
- สายโซ่เรียงชิดกัน ความหนาแน่นสูง แข็งและเหนียว

2. โครงสร้างแบบกิ่ง
- มีกิ่งแยกออกมา ความหนาแน่นต่ำ ยืดหยุ่นได้
ความเหนียวต่ำ

3.โครงสร้างแบบร่างแห
- สายโซ่เชื่อมทกันเป็นร่างแห แข็ง แต่เปราะง่าย

การใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์

พลาสติก

พอลิเอทิลีน
- ใช้ทำถุงใส่ของเย็น ถุงขยะ ของเล่นเด็ก

พอลิสไตรีน
- ใช้ทำชิ้นส่วนของตู้เย็น โฟมบรรจุอาหาร

พอลิไวนิลคลอไรด์
- ใช้ทำท่อน้ำประปา กระเบื้องปูพื้น

ยาง

ยางธรรมชาติ
- ใช้ถุงมือแพทย์ ถุงยางอนามัย

ยางสังเคราะห์
- ยางบีอาร์ ใช้ทำยางยนต์ ยางล้อเครื่องบิน
- ยางเอสบีอาร์ ใช้ทำยางรถยนต์ พื้นรองเท้า

เส้นใย

นำมารีดและปั่นเป็นเส้นด้าย ใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม

วัสดุผสม

วัสดุที่ประกอบด้วยวัสดุ 2 ชนิดขึ้นไป
ที่มีองค์ประกอบทางเคมีแตกต่างกัน โดยที่องค์ประกอบนั้นไม่ละลายเข้าด้วยกัน

สมบัติทางกายภาพของวัสดุผสม

วัสดุพื้น หรือเมทริกซ์
- ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดแรงกระทำ วัสดุที่นำมาทำเป็นวัสดุพื้น เช่น พอลิเมอร์ เซรามิก โลหะ คาร์บอน แกรไฟต์

วัสดุเสริม
- หรือตัวเสริมแรง เป็นเสริมแรง เป็นวัสดุที่เพิ่มสมบัติให้กับวัสดุพื้น โดยวัสดุเสริมอาจเป็นเส้นใย อนุภาค แผ่น หรือชิ้นเล็ก ๆ

เซรามิก

ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากวัตถุดิบในธรรมชาติ
เช่น ดิน หิน ทราย แร่ธาตุ
นำมาผสมกันขึ้นรูปแล้วนำไปเผา

มี 2 ประเภท

เซรามิกแบบดั้งเดิม
- ประกอบด้วย ซิลิกา เฟลด์ลปาร์
- ดั่งเดิม นำมาทำวัตถุไวไฟ,
ซีเมนต์,อิฐ,กระเบื้อง,จาน,ชาม

เซรามิกสมัยใหม่
- ผ่านกระบวนการ ทำให้มีความ บริสุทธิ์สูง
และควบคุม องค์ประกอบทางเคมี

สมบัติทางกายภาพ
ของเซรามิก

วัตถุดิบที่ใช้ในการอุตสาหกรรมเซรามิก

วัตถุดิบหลัก
ได้แก่ ดิน เฟลด์สปาร์ และควอรตซ์

วัตถุดิเสริม
- ช่วยให้ผลิตภัณฑ์เซรามิกมีคุณภาพสูงขึ้น
ได้แก่แร่ดิกไคต์ แร่โคโลไมต์
และสารประกอบออกไซด์

การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์

การเทแบบ
- เป็นการขึ้นรูปโดยการนำดินมาผสมกับน้ำ
แล้วเทลงในแบบรูปทรงต่าง ๆ
เหมาะสำหรับสำหรับการผลิตแจกัน ขวด เครื่องสุขภัณฑ์

การใช้แป้นหมุน
- เป็นการขึ้นรูปโดยการวางดินบนแป้น แล้วหมุนแป้น
ใช้มือปั้นดินให้ได้รูปทรงที่ต้องการ

การเผาและเคลีอบผลิตภัณฑ์

ขั้นตอนที่ 1
- การเผาดิน เป็นขั้นตอนแรก
ทำได้โดยการเพิ่มอุณหภูมิของ
เตาเผาให้สูงขึ้นอย่างช้า ๆ และสม่ำเสมอ
เพื่อให้ผลิตภัณฑ์คงรูป ไม่แตกชำรุด

ขั้นตอนที่ 2
- การเผาเคลือบ เป็นการนำเซรามิก
ที่ผ่านการเผาดิบ แล้วมาเคลือบด้วย
น้ำยาเคลือบ เพื่อให้เกิดความสวยงาม
มีผิวมัน แวววาว ทนต่อการขีดข่วน

การใช้ประโยชน์วัสดุประเภทเซรามิก

ผลิตภัณฑ์แก้ว

แก้วโซดาไลม์
- ใช้ทำแก้วน้ำ ขวดน้ำ กระจกแผ่น

แก้วโบโรซิลิเกต
- ใช้ทำเครื่องแก้วในห้องปฎิบัติการทางวิทย์

ปูนซีเมนต์

ปูนซีเมนต์
- เมื่อนำปูนซีเมนต์มาผสมกับน้ำจะได้ผลึกของเเข็ง
ใช้เป็นวัสดุประสานในงานก่อสร้าง

การใช้ประโยชน์วัสดุประเภทวัสดุผสม

วัสดุุผสมจากธรรมชาติ

กระดูก
- จัดเรียงตัว โดยที่คอลลาเจนเป็นวัสดุพื้นและมีวัสดุเสริม
เป็นแคลเซียมฟอสเฟต ทำให้กระดูกมีสมบัติเชิงกลที่ดี

ไม้
- จัดเรียงตัว โดยเซลลูโลสทำหน้าที่เป็นวัสดุพื้น
และมีลิกนินเป็นวัสดุเสริมทำหน้าที่ประสานให้ องค์ประกอบในไม้เชื่อมกัน

วัสดุผสมจากการสังเคราะห์

คอนกรีต
- ประกอบด้วยหิน ทราย ปูนซีเมนต์ และน้ำ
เมื่อน้ำผสมกับปูนซีเมนต์ จะทำให้เกิดผลึก
ของแข็งยึดเหนี่ยวอนุภาคของทรายและหินให้ติดกัน
เมื่อใส่เหล็กไว้ภายใน จะ เรียกว่า คอนกรีตเสริมเหล็ก

ไฟเบอร์กลาส
- ประกอบด้วยเส้นใยแก้วรวมกับพอลิเมอร์นิยมนำไปใช้อย่างกว้างขวาง
เช่น หลังคารถกระบะ อ่างอาบน้ำ ส่วนประกอบของเรือ ชิ้นส่วนของเครื่องบิน

Finish