การสืบค้นสารสนเทศและความรู้😃

การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์

ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้นสารสนเทศ โดยไม่มีข้อจำกัดในด้านระยะทาง

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก

คือฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้

มีการจำกัดระยะเวลาในการใช้

ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System)

ใช้ฐานข้อมูลวิชาการโดยมีสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย

เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการ
สืบค้นสารสนเทศ ภายใต้ฐานข้อมูลต่างๆ

ฐานข้อมูลทดลองใช้

เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน

ทั้งนี้อาจจะพิจารณาบอกรับเป็นสมาชิกโดยตรวจสอบจากการใช้บริการของผู้ใช้ว่ามีมากน้อยเพียงใด คุ้มหรือไม่

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์

วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ในการค้น

เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม

ลงมือสืบค้น

ใช้เมนูการสืบค้น

สืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง

แสดงผลการสืบค้น

การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ

การแสดงผลแบบย่อ

การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่กำหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วยตัวเอง

เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล

เนื้อหาที่มีให้บริการ

ข้อมูลการตลาดสำหรับสินค้า และผลิตภัณฑ์รวมถึงสื่อโฆษณาต่าง ๆ (Product Information)

นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน (Staff Directory)

การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog)

ข่าวสารทันสมัย (Current News)

ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information)

การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release)

บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints)

ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ

เว็บไซต์ที่ทำหน้าที่ค้นข้อมูล

นามานุกรม (Web Directories)

เครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

คัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ที่ผู้จัดทำกำหนด

เครื่องมือสืบค้น (Search engine)

องค์ประกอบ

ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล

ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog

โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor)

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

เทคนิคตรรกบูลลีน

การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการสืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับคำค้นอย่างไร

การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กำหนดหน้าคำค้นที่ต้องการ

เทคนิคการตัดคำ

การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วนใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากคำ

เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง

ADJ -ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้

NEAR ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำสลับที่ได้

FAR -ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำ หรือมากกว่านั้น

BEFORE หมายถึงให้คำค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดยต้องอยู่ตามลำดับที่กำหนดเท่านั้น

เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น

เทคนิคอื่นๆ

เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “…..”

เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms) ~

เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard)

เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ..

เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของค า (Definition) define:

เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering)

ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำ

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์

วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

ความหมาย

เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศ

ปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็นระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์

วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู

ชื่อผู้แต่ง

ชื่อเรื่อง

หัวเรื่อง

ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก

เลือกทางเลือกผู้แต่ง

พิมพ์ชื่อผู้แต่ง

เลือกทางเลือกคำสำคัญ

พิมพ์คำสำคัญที่ต้องการสืบค้น

หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการ

หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการนั้นๆ

ข้อมูลทีได้จากการสืบค้นด้วย OPAC

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

ชื่อผู้แต่ง (Author)

ชื่อเรื่อง(Title)

สถานภาพ (Status)

เลขเรียกหนังสือ (Call number)

รูปเล่ม (Description)

หมายเหตุ (Note)

สถานที่ (Location)

หัวเรื่อง (Subject)

เลขมาตรฐาน (ISBN)

ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

ชื่อผู้แต่ง (Author)

ชื่อเรื่อง (Title)

ปี(Year)

สถานที่ (Location)

ชื่อวารสาร (Journal)

เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN)

หัวเรื่อง (Subject)