การเขียนรายงานทางวิชาการ
ส่วนประกอบของรายงาน
หน้าปก (Cover)
ชื่อของรายงาน
ชื่อ-นามสกุล และเลขรหัส
ชื่อวิชา
ชื่อสำนักวิชา
ชื่อสถาบันการศึกษา
ปีการศึกษาที่ทำ
หน้าปกใน
ใบรองปก
คำนำ
บอกขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการจัดทำ
อาจจะบอกเนื้อหา (เป็นตอน/บท) อย่างคร่าวๆ
ส่วนใหญ่มี2 ย่อ หน้า (ย่อหน้าที่2 จะกล่าวความคาดหวังในการทำรายงาน)
ในตอนท้ายจะลงชื่อ ผู้จัดทำและวันที่ที่เขียนคำนำ
กิตติกรรมประกาศ
เป็นหน้าที่ใช้กล่าวขอบคุณ ผู้ที่ให้การสนับสนุนผู้ที่ให้ข้อมูลต่างๆ ตลอดจนผู้ที่ เป็นกำลังใจในการทำรายงานชิ้นนั้นๆ
ส่วนใหญ่พบในรายงานการวิจัย/วิทยานิพนธ์
สารบัญ
สารบัญเนื้อหา
เริ่มนับตั้งแต่หน้าแรกของเนื้อหา
มีหัวข้อหลักๆ/ที่สำคัญๆ ของแต่ละบทปรากฏด้วย
สารบัญภาพ
บอกภาพทุกภาพที่ปรากฏในรายงานว่าอยู่หน้าไหนบ้าง
จะนับภาพแรกต่อเนื่องจนถึงภาพสุดท้ายในรายงานนั้น
สารบัญตาราง
ทำเช่นเดียวกับสารบัญภาพ
เนื้อหา
หน้าแรกของทุกบทจะไม่ปรากฏเลขหน้า
ความหมาย หรือนิยาม
ประวัติความเป็นมา หรือ ภูมิหลัง
องค์ประกอบ/ส่วนประกอบ
โครงสร้าง/การทำงาน
เรื่องที่นำมาประยุกต์ใช้
บทสรุปในแต่ละหัวข้อ
มีกี่บทก็ได้แต่ละบทควรมีโครงเรื่องและโดยการลำดับหัวข้อที่ชัดเจน
การขึ้นหัวข้อใหม่ ควรทำหัวจ้อให้ชัดเจน แตกต่างจากหัวข้อย่อยอื่นๆ
ตรวจสอบคำผิด /ขนาดตัวอักษร /รูปแบบตัวอักษร
บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง
เป็นรายชื่อเอกสารที่นำมาเขียนรายงานทั้งหมด
รายชื่อเอกสารดังกล่าวอาจมาจาก
บทความ (Article)
หนังสือ (books)
ฐานข้อมูล (Databases)
internet
เรียงตามตัวอักษร ก-ฮ หรือ A-Z (ภาษาไทยจะเรียง
ก่อนภาษาอังกฤษ)
ภาคผนวก
ไม่จำเป็นต้องมีในรายงานทุกฉบับ ส่วนใหญ่จะแนบตัวอย่างต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทำรายงานนั้น เช่น
ตัวอย่างแบบฝึ กหัด
ตัวอย่างแบบสอบถาม/แบบสำรวจ/แบบสัมภาษณ์ หรือแบบฟอร์มต่างๆ เป็นต้น
code หรือขั้นตอนต่างๆในการทำ project
ใบรองปกหลัง
ปกหลัง
ขั้นตอนในการทำรายงาน
กำหนดชื่อเรื่อง
วางโครงเรื่องของเนื้อหา
คิดคำสำคัญ / คำค้น
เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็นเครื่องมือ
ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
เรียบเรียงและนำเสนอรายงาน
ความหมาย
สิ่งพิมพ์ที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ จากการค้นคว้า ทดลอง สังเกตการณ์ การสำรวจ การสัมภาษณ์ เป็นต้น
ประเภทของรายงาน
รายงานวิชาการ (Reports)
ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบ
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริมเนื้อหาที่เรียนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ในแต่ละภาคการศึกษา
ผู้ทำรายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเองหรือผู้สอนเป็นผู้กำหนดให้
ทำเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล
ภาคนิพนธ์(Term paper)
มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน
มีรายละเอียดลึกซึ้งมากว่า
ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา
วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับ
บัณฑิตศึกษา
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
(Dissertation)
ปริญญามหาบัณฑิต
(Thesis)
รายงานการวิจัย (Research)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิชาการนักวิจัยเป็น
การศึกษาค้นคว้าลักษณะเดียวกับการทำวิทยานิพนธ์
ประโยชน์ของการทำรายงาน
ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ
ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง
ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะใน
การแก้ไขปัญหา
เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการอื่นๆต่อไป
ขั้นตอนการเขียนรายงาน
เลือกและกำหนดหัวข้อการท ารายงาน
อ่านข้อมูลของเนื้อหาเพื่อเป็นพื้นฐานความรู้ และ กำหนดวัตถุประสงค์
จัดทำเค้าโครงรายงาน
รวบรวมบรรณานุกรม
อ่านและจดบันทึก
การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
การจัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย
การเรียบเรียงรายงาน
การเขียนรายการอ้างอิงและ
บรรณานุกรม
การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์