จิตรวิทยาการเรียนรู้

ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของ Edward Thorndike

กฎแห่งผล

กฎแห่งการฝึก

กฎแห่งความพร้อม

1. เมื่อหน่วยของการกระท้าพร้อมที่จะแสดงออกมา ถ้าผู้กระท้าท้าด้วยความสบายหรือพอใจ ไม่มีอะไรจะเปลี่ยนแปลงการกระท้านี้ได้

2. ถ้าหน่วยของการกระท้าพร้อมที่จะแสดงออกแต่ไม่ได้แสดง จะท้าให้เกิด
ความไม่สบายใจ

3. ถ้าหน่วยของการกระท้ายังไม่พร้อมที่จะแสดงออกแต่จ้าเป็นต้องแสดงออกการแสดงออกนั้นๆจะกระทำไปด้วยความไม่สบายใจหรือไม่พอใจเช่นกัน

ทฤษฏีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำของ B.F Skinner

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขึ้นอยู่กับการเสริมแรงหรือลงโทษ

เสริมแรงทางบวก

ลงโทษทางบวก

ลงโทษทางลบ

เสริมแรงทางลบ

ทฤฏีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค

by Pavlov

การเปลี่ยนแลงงพฤติกรรมโดยการวางเงื่อนไข

UCS = Unconditioning Stimulus สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข

UCR = Unconditioning Response การตอบสนองแบบที่ไม่ได้วางเงื่อนไข

CS = Conditioning Stimulus สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข

CR = Conditloning Response การตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข

กฏการเรียนรู้จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง พาฟลอฟ

1. กฎการลบพฤติกรรม (Law of Extinction)

2. กฏแห่งการคืนกลับ (Law of Spontaneous recovery)

3. กฎความคล้ายคลึงกัน (Law of SimilarityL)

4. กฏการจำแนก (Law of discrimination)

John Watson

Watson นำาเอาทฤษฎีของ Pavlov มาเป็นหลักสำคัญ ในการอธิบายเรื่องการเรียนรู้

พฤติกรรมนิยมมองมนุษย์อย่างเป็นกลาง คือ ไม่ดี ไม่เลว (neutral-passive)

การกระทำต่าง ๆ ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก

พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus-response) โดยการ
เรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง เป็นการศึกษาพฤติกรรม
ที่สามารถเห็นได้หรือวัดได้

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม

ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญา Jean Piaget

การซึมซับหรือดูดซับ

การปรับและจัดระบบ

ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม

ตัวแบบความใส่ใจการเข้ารหัสการจดจำ

ความใส่ใจการจดจำการแสดงพฤติกรรมแรงจูงใจ

ทฤษฏีประมาลผลสารสนเทศ (คลอสเมียร์)

รับข้อมูล

เข้ารหัส

ส่งออกข้อมูล

การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของบุคคลที่ค่อนข้างถาวร ในด้านต่างๆ ได้แก่

การเปลี่ยนแปลงด้านความรู้

การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์

การเปลี่ยนแปลงด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลท์

การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะคือ

1. การรับรู้ (perception)

2. การหยั่งเห็น (insight)

กฎการจัดระเบียบการเรียนรู้ของเกสตัลท์

กฎแห่งความแน่นอน (Law of pragnanz)

กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of similarity)

กฎแห่งความใกล้เคียง (Law of proximity)

กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of closure)

กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of continuity)

กฎแห่งความคงที่ (Law of stability)