ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้มีหน้าที่
บุคคลธรรมดา
เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทุกคน
ถึงแก่ความตายต้องเสียภาษี
เกิดมาแล้วยังมีชีวิตอยู่
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
คนที่มีรายได้น้อยต้องเสียภาษี
ถึงแก่ความตายก่อนยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีหรือในระหว่างปีภาษี
ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
ทรัพย์สินของผู้ตายในปีถัดจากปีที่ถึงแก่ความตาย แต่ยังไม่ได้แบ่งให้ทายาท
ผู้จัดการมรดกหรือทายาท หรือผู้ครอบรองทรัพย์มรดก เป็นผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีในนามกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
วิสาหกิจชุมชน
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
จะต้องมีสมาชิก ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถึงจะตั้งบริษัทได้
วัตถุประสงค์ในการที่จะแบ่งปันผลกำไรที่พึงได้
คณะบุคคล
จะต้องมีสมาชิก ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถึงจะตั้งบริษัทได้
ไม่จำเป็นต้องมีวัตถุประสงค์ในการที่จะแบ่งปันผลกำไรที่พึงได้
การส่งเสริมวิสากิจชุมชน
กลุ่มที่ชาวบ้านมาร่วมตัวทำกิจกรรม
บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษี
บุคคลตามข้อผูกพักที่ประเทศมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
องค์การสหประชาชาติ
สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต
บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติอเมริกัน
เงินได้ที่ว่าการ ผู้ว่าการสำรอง กรรมการ
คนที่อยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อนที่รัฐบาลไทย
คนที่อยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อนที่รัฐบาลไทย
ยกเว้นให้บุคคลตามที่กำหนดไว้ในความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ฐานภาษีเงินได้
คำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ต้องชำระ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา = ฐานภาษี(เงินได้สุทธิ) . อัตราภาษี
เงินได้สุทธิ = เงินได้พึงประเมิน - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
ฐานภาษีและอัตราภาษี
เงินได้พึงประเมิน
เงินที่ได้รับในประเทศจะต้องเสียภาษีตามมาตรา 39
ที่ได้รับเงินจริง(เกณฑ์เงินสด)
เงิน
ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้
เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด
แหล่งเงินได้
ตามมาตรา 41
เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ
หน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
กิจการที่ทำในประเทศไทย
กิจการของนายจ้างในประเทศไทย
ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
เงินได้จากแหล่งนอกประเทศ
หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
กิจการที่ทำในต่างประเทศ
ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ
เสียภาษีเงินได้ให้แก่ประเทศไทย(ตามหลักถิ่นฐานที่อยู่)
ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยครบ 180 วัน
ผู้ที่นำเงินได้เข้ามาในประเทศไทยอยู่ครบ 180 วัน
ปีปฏิทิน เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค.
เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี
ตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126
ตามพระราชกฤษฎีกา
ตามกฎหมายอื่น
ประเภทเงินได้พึ่งประเมินและการหักค่าใช้จ่าย
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40(1))
เงินได้จากการจ้างแรงงาน
หักค่าใช้จ่าย 50% ไม่เกิน 100,000
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา 40(2))
กลุ่มรับทำงานให้ ค่านายหน้า
หักค่าใช้จ่าย 50% ไม่เกิน 100,000
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3 (มาตรา 40(3))
ค่าแห่งลิขสิทธิ์
หักค่าใช้จ่ายจ่าย 50% ไม่เกิน 100,000
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40(4))
40(4)(ก)
ดอกเบี้ย
40(4)(ข)
เงินปันผล
หักค่าใช้จ่ายไม่ได้
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 (มาตรา 40(5))
40(5)(ก)
การให้เช่าทรัพย์สิน
การหักค่าใช้จ่าย
หักตามจ่ายจริง
หักเป็นการเหงาในอัตราที่กำหนด
บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือแพ หัก 30%
ที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม หัก 20%
ที่ดินที่มิได้ใช้ในการเกษตรกรรม หัก 15%
ยานพาหนะ หัก 30%
ทรัพย์สินอื่นๆ หัก 10%
40(5)(ข)
การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน
การหัดค่าใช้จ่าย 20%
40(5)(ค)
การผิดสัญญาซื้อเขายเงินผ่อน
ผู้ขายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือประโยชน์ที่ได้รับ
การหัดค่าใช้จ่าย 20%
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40(6))
วิชาชีพอิสระ
โรคศิลป
วิศวกรรม
สถาปัตยกรรม
การบัญชี
ประณีตศิลปกรรม
หักค่าใช้จ่าย
หักตามความเป็นจริง
หักตามอัตราเหมา
เฉพาะแพทย์เท่านั้นที่หัก 60% แต่ต้องเกี่ยวกับคนเท่านั้น
อาชีพอิสระนอก ที่ไม่ใช่แพทย์รักษาเกี่ยวกับคนเท่านั้น หัก 30%
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40(7))
รับเหมาก่อสร้าง
การหักค่าใช้จ่าย
หักตามความเป็นจริง
หักตามอัตราเหมาในปัจจุบัน 60%
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40(8))
ถ้าไม่ได้จัดอยู่ในประเภทที่ 1-7 จะอยู่ในประเภทที่ 8
ความผิดทางภาษี
ความผิดทางแพ่ง
ความผิดทางอาญา
การอุทธรณ์
ถ้าผู้ต้องเสียภาษีอากรไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมิน
เมื่อมีการอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์แล้ว ถ้ามีการออกหมายเรียกผู้อุทธรณื หรือมีคำสั่งให้ปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยอุทธรณ์แต่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียก
วิธีการเสียภาษี
การเสียภาษีโดยการประเมินตนเอง
เกณฑ์ของเงินได้พึงประเมินที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการ (มาตรา 56) ใช้ทั้งกรณีภาษีสิ้นปีและครึ่งปี
ผู้มีหน้าที่ในการื่นแบบแสดงรายการ (มาตรา 56, 57, 57ทวิ และ 57 เบญจ)
แบบแสดงรายการที่ใช้
กำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการ
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการ
การชำระภาษี
การขอผ่อนชำระภาษี
การเสียภาษีโดยการประเมินของเจ้าพนักงาน
มีบางกรณีที่เจ้าพนักงานทำการประเมิน แลเวให้ผู้มีเงินได้ยื่นเสียภาษี
การเสียภาษีโดยการหักภาษี ณ ที่จ่าย
เป็นวิธีการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอีกวิธีหนึ่งโดยกฎหมายได้กำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้ในบางกรณีทำหน้าที่คำนวนหักเงิน
เงินได้ที่แยกคำนวณได้
ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตรา 15% ของเงินได้ได้โดยไม่ต้องนำไปรวมกับเงินได้อื่นๆ
ดอกเบี้ยพันธบัตร
ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงิน
ผลประโยชน์ที่ได้จากโอนพันธบัตร หุ้นกู้
คนต่างด้าวซึ่งทำงานประจำในสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค
ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตรา 10% ของเงินได้ได้โดยไม่ต้องนำไปรวมกับเงินได้อื่นๆ
เงินได้ตามมาตรา 40(4)(ข) ที่ได้รับจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย กองทุนรวม
เงินได้ส่วนแบ่งกำไรจากกองทุนรวมตามที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2
ผู้มีเงินได้ที่เป็นนักแสดงภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศ
การคำนวณภาษี
การคำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี
การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
หากผู้มีเงินได้มีเงินได้ตามมาตรา 40(2)-(8) ตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป จะต้องเสียภาษีเงินได้อย่างน้อย 0.5%
ค่าลดหย่อน
ผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
คู่สมรสของผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
บุตร คนละ 30,000 บาท
บิดามารดาของผู้มีเงินได้หรือคู่สมรส คนละ 30,000 บาท
อุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ คนละ 60,000 บาท
เบี้ยประกันชีวิต
เบี้ยประกันชีวิต หักได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท
เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ หักลดย่อนได้ 15% แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
เบี้ยประกันสุขภาพของผู้มีเงินได้ หักลดหย่อนได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท
เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาของผู้มีเงินได้และคู่สมรส หักลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงไม่เกิน 15,000 บาท
เงินสะสมจ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หักได้ตามจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท เงินที่จ่ายสะสมเข้ากองทุนจะต้องไม่ต้ำกว่า 3% แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง
ค่าซื้อหน่อยลงทุนในกองทุนรวมสำรองเลี้ยงชีพ(RMF) หักได้ไม่เกิน 15% ของเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ แต่ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย ตามจำนวนเงินที่ได้จ่ายไปจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท
เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ตามจริงที่จ่ายจริง แต่ต้องจ่ายเงินเข้ากองทุนประกันสังคมไม่เกิน 9,000 บาท
เงินสะสมกองทุนการออมแห่งชาติ ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
เงินบริจาค ต้องบริจาคเป็นเงินสดเท่านั้น