การเขียนอ้างอิงเเละบรรณานุกรม
การลงปีที่พิมพ์
ให้ระบุเฉพาะตัวเลข ไว้ในเครื่องหมาย ( ) เสมอ
ถ้าไม่ปรากฏปีพิมพใ์ห้ใส่ม.ป.ป. หมายถึงไม่ปรากฏ ปีพิมพ์หรือn.d. หมายถึงno date แทน โดยใส่ไว้ใ้นเครื่องหมายวงเล็บ[ ]
Subtopic
การอ้างอิงเอกสาร (Citation)
ความหมาย
การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนนำมาใช้
อ้างอิงในการเขียนผลงาน
อ้างอิงในส่วนของเนื้อเรื่อง
อ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่องหรือท้ายรายงาน (บรรณานุกรม)
บรรณานุกรม
รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานเรื่องนั้นๆ ทั้งที่ได้เขียนรายการอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเเละเอกสารที่ไม่ได้ใช้อ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่องเเต่ได้อ่านประกอบเรียบเรียง นำมาใส่ไว้ในส่วนท้ายรายงาน
เอกสารอ้างอิง
รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานเรื่องนั้นๆ เเละเป็นเอกสารที่ได้เขียนรายการอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น
การลงชื่อผู้แต่ง
หนังสือที่มี ผู้แต่ง 1 คน
อรรจน์ บัณฑิตย์
Potter, Harry
Corey, Michael J.
หนังสือที่มี ผู้แต่ง 2 คน
ใชคำว่า และ หรือ and เชื่อม
หนังสือที่มี ผู้แต่ง 3-6 คน
ระบุชื่อคนแรกไปจนถึงคนที่ 5 จึงเชื่อมด้วยคำว่า และ
หนังสือที่มี ผู้แต่งมากกว่า 6 คน
ระบุชื่อคนที่ 1-6 จากนั้นให้ใชคำว่า และคณะ หรือ และคนอื่นๆ (ภาษาองักฤษ and others)
หนังสือที่ผู้แต่งใช้นามแฝง
ถ้าทราบชื่อจริงให้วงเล็บต่อท้าย
ถ้าไม่ทราบให้วงเล็บไว้ว่า นามแฝง
หนังสือที่ผู้แต่ง เป็นนิตบิุคคล
เว้นวรรคจากหน่วยงานใหญ่คั่นด้วย เครื่องหมาย . ตามด้วยหน่วยงานย่อย
การลงชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง
ชื่อเรื่องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใส่เฉพาะภาษาไทย
ชื่อหนังสือที่เขียนเป็นภาษาไทยแตชื่อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษให้ถอดคำ เป็น ภาษาไทยก่อนแลว้จึงใส่ชื่อภาษาอังกฤษไว้ในวงเล็บ
การลงชื่อสถานที่พิมพ์
ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ ม.ป.ท. หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ n.p. (no place) แทน โดยใส่ในเครื่องหมาย[ ]
การเรียงลำดับบรรณานุกรม
เรียงลำดับตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฎ (ก-ฮ, A-Z)
ถ้ามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทยใหเ้รียงแยกกันโดยให้
เรียงภาษาไทยมาก่อนเสมอ
ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน โดยใช้หลักดังนี้
ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวมาก่อนรายการที่มีหลายคน
ถ้าผู้แต่งคนแรกซ้ำกัน ใหเ้รียงตามชื่อผู้แต่งคนต่อมา
ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง
เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ใหเ้รียงตามลำดับอักษรตัวแรก ของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลำดับตั้งแต่หน่วยงานใหญ่ถึงหน่วยงานย่อย
ตัวอย่างบรรณานุกรมหรือรายการอ้างอิงท้ายเล่ม
ผู้แต่ง/(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง/ครั้งที่พิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สถำนที่พิมพ์:/
///////ส ำนักพิมพ์.
ตัวอย่าง
กุลธิดา ท้วมสุข. (2553). แหล่งสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต.บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์มข. 15(6), 44-49.
David, E. (2010). Internet Use for Studying. Retrieved September 30, 1999, from http://www.ddd.ac.th
ข้อสังเกตุ : เรียงตามตัวอักษร ภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ
การเขียนบรรณานุกรมท้ายเล่มเอกสารหรือรายงาน
บรรณานุกรมสำหรับหนังสือทั่วไป (General Books)
รูปแบบ
ชื่อผู้แต่ง. (ปี พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์ (ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป).
สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์
Subtopic
ภัทราวดี มีชูธน. (2541). ปาก (กา) ไม่ว่าง. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ : ฟิวเจอร์พับลิชชิ่ง.
การลงครั้งที่พิมพ์
ภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวย่อ ed.
ใส่ครั้งที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่สองเป็นต้นไป
การลงสำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์
หา้มใส่คำว่า สำนักพิมพ์ หรือ Publisher
ในกรณีที่ไม่ปรากฏชื่อสำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ให้ระบุคำว่า ม.ป.พ. หรือ n.p. (No Publisher) โดยระบุไวใ้นเครื่องหมาย[ ]
การเขียนบรรณานุกรม
ส่วนสำคัญ
ชี่อผแู้ต่ง ชื่อเรื่อง การพิมพ์
บรรณานุกรมสำหรับหนังสือทั่วไป
รูปแบบ
ชื่อผแู้ต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์(ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป). สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.
บรรณานุกรมสำหรับบทความจากวารสาร
รูปแบบ
ชื่อผเู้ขียนบทความ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่)
, เลขหน้าที่ปรากฏ.
บรรรณานุกรมจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
รูปแบบ
ชื่อผแู้ต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อเอกสารออนไลน์. ค้นเมื่อ, ว/ด/ป (ที่ค้น)
จาก +URL เว็บไซต์ที่พบขอ้มูล
การโจรกรรมทางวรรณกรรม หรือ การขโมยความคิด
ความหมาย
การลอกงานเขียน ความคิดหรืองาน สร้างสรรค์ดั้งเดิม ทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงาน ดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง
ถือเป็น
ความไม่สุจริตทางวิชาการ (Academic Dishonesty)
การฉ้อฉลทางวิชาการ (Academic Fraud
ผู้ที่กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (Academic Censuses)
แนวทางหลีกเลี่ยง
แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด อ้างไว้ในบทนำว่างานใหม่หรือ ส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไวด้ว้ยอย่างไร
ต้องให้แน่ใจว่าไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้ใด
อ้าอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่