สารชีวโมเลกุล

สารชีวโมเลกุล

r

เป็นสารอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก และแร่ธาตุอื่นๆเช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน กำมะถันเป็นองค์ประกอบร่วม สารชีวโมเลกุลมีขนาดใหญ่มาก แต่ละชนิดจะมีโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยาที่แตกต่างกันเราจึงพบว่าสารชีวโมเลกุลมีหน้าที่และประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกัน จำแนกได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆคือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมันหรือลิพิด และกรดนิวคลีอิก

วิตามิน

r

  วิตามิน เป็นสารอาหารประเภทหนึ่งที่ร่างกายต้องการในปริมาณเล็กน้อย แต่มีความสำคัญต่อร่างกาย มีสารต้านอนุมูลอิสระ เพราะหากร่างกายขาดวิตามินเมื่อไร อาจส่งผลให้ร่างกายเจ็บป่วย หรือเกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์ขึ้นได้โดยที่เราไม่รู้ตัว 

วิตามินละลายในไขมัน

A

D

E

K

วิตามินละลายในน้ำ

B

C

ลิพิด

r

ลิพิด (Lipid) เป็นสารประกอบที มีอยู่ในเนื้อเยื่อของพืชและสัตว์ เป็นสารชีวโมเลกุลที มีธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบหลัก และลิพิดบางชนิดมีธาตุฟอสฟอรัส เป็น องค์ประกอบเช่นฟอสโฟลิฟิดคําว่า lipid มากจากภาษากรีกคําว่า lipos โดยาทั่วไปลิปิดจะละลาย ในสตัวทําลายไม่มีขั วเช่น chloroform และ diethyl ether เป็นต้น

สมบัติทางเคมี

เลขไอโอดีน

สปอนนิฟิเคชั่น

ไฮโดรไลซิส

การละลายน้ำ

คาร์โบไฮเดรต

r

คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที สําคัญที เป็น องค์ประกอบของสิ งมีชีวิตทุกชนิด คําว่าคาร์โบไฮเดรตมีรากศัพท์มาจากคําว่า คาร์บอน (carbon) และคําว่าไฮเดรต (hydrate) อิ มตัวไปด้วยนํ0า ซึ งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที อิ่มตัวไปด้วยน้ำ เนื่องจากสูตรเคมีอย่างง่ายก็คือ (C•H2O)nซึ ง n≥3 หน่วยที เล็กทีสุดของคาร์โบไฮเดรตก็คือนํ0าตาล โมเลกุลเดี ยวหรือเรียกว่าโมโนแซคคาร์ไรด์ คาร์โบไฮเดรตที พบทั วไปในชีวิตประจําวัน ได้แก่ น้ำตาล แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน โดยส่วนใหญ่พบแป้งและเซลลูโลสในพืช ส่วนไกลโคเจนพบ ในเซลล์เนื้อเยือ น้ำไขข้อในสัตว์และผนังเซลล์  

มอนอแซ็กคาไรด์

r

มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) หรือน้ำตาลโมเลกุลเดียว นํ0าตาลโมเลกุลเดียวเป็นหน่วยน้ำตาลที เล็กที สุดประกอบด้วยคาร์บอน 3 ถึง 8 อะตอม จึง สามารถจําแนกน้ำตาลประเภทโมเลกุลเดี่ยวตามจํานวนคาร์บอนทีเป็นองค์ประกอบ

กลูโคส

กาแล็กโตส

ฟรักโตส

โอลิโกแซ็กคาไรด์

r

โอลิโกแซ็กคาไรด์ (oligosaccharide) นํ0าตาลจําพวกโอลิโกแซ็กคาไรด์ประกอบด้วยน้ำตาล โมเลกุลเดี่ยวประมาณ 2-15 หน่วยสร้างพันธะด้วยพันธะไกลโคซิดิก ที พบมากที สุดของนํ0าตาลชนิด นี้คือนํ้าตาลไดแซ็กคาไรด์ ซึ งเกิดจากน้ำตาลโมเลกุลเดียวรวมตัวกัน 2 หน่วยต่อกัน ได้แก่ ซูโครส เป็นน้ำตาลที ได้จากต้นอ้อย แล็กโตส น้ำตาลในน้ำนม

ซูโครส

มอลโทส

แลกโทส

พอลิแซ็กคาไรด์

r

พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที ประกอบด้วย มอนอแซ็กคาไรด์หลายๆ โมเลกุลเชื อมต่อกันพอลิแซ็กคาไรด์ที สําคัญต่อสิ งมีชีวิต ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน

แป้ง

ไกลโคเจน

ไคตืน

เซลลูโลส

โปรตีน

r

โปรตีนเป็นสารประเภทพอลิเพปไทด์ที มีโครงสร้างของโมเลกุลที ซับซ้อน มีธาตุประกอบ หลักซึ งประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน โปรตีนเป็นสารที่พบมากที สุด ในสิ งมีชีวิตมากกว่าครึ งหนึ งของน้ำหนักแห้ง (dry weight) ของเซลล์ทั่วไป โปรตีนมีบทบาทสําคัญในกระบวนการทางชีวเคมีทุกชนิด ดังนั้นความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและการทํางานของโปรตีนจึงมี ความสําคัญมาก

กรดอะมิโนและพันธะเพปไทด์

r

เมือสลายโปรตีนด้วยกรดจะได้สารอินทรีย์ง่ายๆ เรียกว่า กรดอะมิโน (amino acid) ซึงมี สูตรโครงสร้างเป็น NH2 -CHR-COOH ในสูตรโครงสร้างนี้อะตอมคาร์บอนในตําแหน่งอัลฟาจะเป็น อะตอมคาร์บอนไม่สมมาตร (asymmetric carbon atom) ดังนั0นกรดอะมิโนทุกตัว นอกจากไกลซีน จะมีสเตริโอไอโซเมอร์ได้สองชนิด คือ D- และ L- โดยที กรดอะมิโนในธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นชนิด L-isomer 

คุณสมบัติของกรดอะมิโน

r

เนื่องจากกรดอะมิโนมีหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิลิกเป็นหมู่ฟังก์ชันจึงมีสมบัติดังนี้ การละลายน้ำ กรดอะมิโนเป็นผลึกของแข็งสีขาว ละลายน้ำได้และละลายในโมเลกุลที มีขั0ว จุดหลอมเหลวของกรดอะมิโนค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับสารอินทรีย์อื่นๆ ที มีมวลโมลเลกุลใกล้เคียงกัน เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน ความเป็นกรด-เบสของกรดอะมิโนมี สมบัติเป็นทั้งกรดและเบส เนื องจากมีองค์ประกอบเป็นหมู่ฟังก์ชันของ –COOH ซึ งมีสมบัติเป็นกรด และหมู่ –NH2ซึ งมีสมบัติเป็นเบส กรดอะมิโนจึงเป็นสาประเภทแอมโฟเทอริก ซึ่งแตกตัวเป็นไอออน ในสารละลายได้คล้ายสารประกอบไอออนิก ต่างกันที โมเลกุลของกรดอะมิโนมีทั0งประจุบวกและ ประจุลบ จึงเกิดเป็นไอออน 2 ขั้วที เรียกว่า zwiiter ion ทําให้ผลรวมของประจุไฟฟ้าในโมเลกุลเป็นศูนย์ 

โครงสร้างของโปรตีน

r

สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ใช้กรดอะมิโนเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์โปรตีน โดยกรดอะมิโน หลายโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์ ถ้ากรดอะมิโน 2 โมเลกุลเกิดปฏิกิริยารวมตัวกันจะ ได้สารประกอบที่เรียกว่า ไดเพปไทด์ กรดอะมิโน 3 โมเลกุลทําปฏิกิริยารวมตัวกันจะได้ สารประกอบ ไตรเพปไทด์ และถ้ากรดอะมิโนหลายๆ โมเลกุลทําปฏิกิริยากันจนเกิดเป็นสายยาว เรียกว่า พอลิเพปไทด์ 

การเรียกชื่อโปรตีน

r

การเรียกชือโปรตีน การเรียกชื่อโปรตีนไดเพปไทด์และไตรเพปไทด์ ให้เรียกชื อตามลําดับของกรดอะมิโน โดย เรียกชื่อกรดอะมิโนลําดับแรกด้วยการลงท้ายด้วย –yl ตามด้วยชื่อกรดอะมิโนตัวสุดท้าย