สถิติพื้นฐานและการเก็บข้อมูลเบื้องต้น

คำจำกัด

คำว่าสถิติ มาจากภาษาเยอรมันว่าstatisttics มีรากศัพท์จากstat หมายถึงข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารในด้านต่างๆ

สถิติหมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก เป็นต้น สถิติในความหมายที่กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าข้อมูลสถติ

ประเภทของข้อมูล

นามบัญญัติ

เป็นระดับกำรวัดที่หยำบที่สุด จัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ
อำชีพ

ใช้สถิติง่ายในการคำนวณ คือความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น

เรียงลำดับ

เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆโดยเรียงลำดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงไปหาต่ำ

สถิติที่ใช้วิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

อันตรภาค

เป็นข้อมูลที่บ่งบอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วงเป็นข้อมูลตัวเลข สามารถบวก ลบ กันได้แต่ไม่มีศูนย์แท้

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติชั้นสูงทุกตัว

อัตราส่วน

ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูงสามารถ บวก ลบ คูณ หารได้และมีศูนย์แท้

ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

ประเภทของสถิติ

สถิติเชิงพรรณา เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล สถิติที่ใช้เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัย

การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่ ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากรแต่อย่างใด ลักษณะที่จะพรรณาข้อมูล มีอยู่สองลักษณะคือ การใช้อักษรหรือตัวเลข , การใช้แผนภาพ

สถิตพารามิเตอร์ วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร

สถิติพารามิตอร์

การเขียนแสดงค่าสถิติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์

สถิติไร้พารามิเตอร์

เป็นวิธีการที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง3ประการ

ประเภทตัวแปรทีใช้ในสถิติ

ตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรอิสระ

คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

ตัวแปรตาม

ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหรือผลของตัวแปรต้น

ตัวแปรตามระดับการวัด

ตัวแปรกลุม หรือ นามมาตรา หรือ นามกำหนด

ตัวแปรอันดับ

ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค

ตัวแปรอัตราส่วน

วัตุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยการศึกษา/วิเคราะห์

ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา

ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

ศึกษาการประมาณค่าหรือพยากรณ์

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

หลีกเลี่ยงการนำเสนอซ้ำซาก

เสนอในรูปแบบมารฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วงวิชายอมรับ

แปลผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง

ตีความหมาย

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด

สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม

รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความผล