พื้นฐานของการรวบรวมสถิติและข้อมูล

พื้นฐานของสถิติ

Statiscal data

r

ข้อมูลสรุปจากการวิเคราะหก์ล่มุข้อมูล เพื่อแสดงลักษณะกล่มุข้อมูล

Statistics

r

ศาสตร์ของการนำข้อมูลจากตัวอยา่งไปใช้ คาดคะเนประชากร 

Descriptive statistic

r

วิธีทางสถิติในการสรุปสิ่งที่ศึกษาจาก ข้อมูลที่รวบรวม (ขอบเขตจำกัดช่วงเวลา/ สถานที่) 

Inferential statistic

r

วิธีทางสถิติในการสรุปลัำษณะประชากรจาก ข้อมูลตัวอย่าง ด้วยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการ ประมาณค่าสถิติจากตัวอย่างเพื่ออนุมานลักษณะ ประชากร (parameter) 

สถิติ

หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ เก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก สถิติในความหมายที่กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลทางสถิติ (Statistical data)

วิธีการทางสถิติ

1.Data collection

r

การรวบรวมข้อมูล : การทำความเข้าใจข้อมูล ประเภท เครื่องมือการรวบรวม วิธีการรวบรวม

2.Data presentation

r

การนำเสนอข้อมูล : การจัดกลุ่มข้อมูล & การประมวลผล : ตาราง / วิธีการประเมินผล / ข้อสรุป

3.Statistical analysis

r

การวิเคราะห์ทางสถิติ : การวิเคราะห์ข้อมูล การคำนวณทางสถิติ

4.Statistical interpretation

r

การตีความทางสถิติ : การตีความทางสถิติ : การยอมรับ / การปฏิเสธสมมติฐานทางสถิติ

ประเภทของข้อมูล

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data)

นามบัญญัติ (NominalScale)

r

เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่มๆ เช่น เพศ อาชีพ ใช้สถิติง่ายๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น จะนำ ไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิต ิเพราะ ไม่มีความหมาย

เรียงอันดับ (OrdinalScale)

r

เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งของต่างๆ โดย เรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ สอบ ลำดับของการประกวดสิ่งตำ่งๆ หรือ ความนิยม ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้เช่นกัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

ข้อมูลเชิงปริมาณ(Quantitative Data)

อันตรภาค (IntervalScale)

r

 เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากันทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภมูิ ระดับทัศนคติ ระดับความคิดเห็น สถิติทิ่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติชั้นสูงทุกตัว 

อัตราส่วน (RatioScale)

r

ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หารได ้และมีศูนย์แท้ เช่น น้ำหนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มีข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

ประเภทของสถิติ

Descriptive Statistics

สถิติเชิงพรรณนา

r

• การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่• ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด• ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลน้ัน มีอยู่สองลักษณะ คือการใชต้วอักษรหรือตัวเลขการใช้แผนภาพ

Inferential Statistics

สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics )

r

สถิติว่าด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวม มาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุป ลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช ้เช่น การประมาณค่าการทดสอบสมมติฐาน เป็นต้นข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน ใช้ t-test,  Z-test, ANOVA, Regression ฯลฯการเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์

สถิติไร้พารามิเตอร์(Nonparametric Statistics)

r

เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลง เบื้องต้น ทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test, Sign test ฯลฯ

วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

1.พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

2.ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา

3.ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

4.ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

1.ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

2.ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

3.รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด (Level of Measurement)

4.สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร อิสระ หรือตัวแปรตาม

5.รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ

6.รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

1.หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก

r

โดยเสนอให้น้อยที่สุดแต่สิ่งที่เสนอต้องสื่อ ความหมายให้ได้มากที่สุดหรือครบถ้วน สมบูรณ์ในตัวของมันเอง

2.เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วงวิชาการยอมรับ

r

ทำการเสนอที่ได้รูปแบบ มาตรฐานของแต่ละวิธีการที่ใช้กันในวงการวิจัย

3.แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง

r

ทำการอ่านผลค่าสถิติ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

4.ตีความหมาย

r

ทำการตีตวามหมายผลที่ได้จาก การวิเคราะห์ให้เป็นไปตามหลักการหรือเกณฑ์ที่กำหนด

ตัวแปร

ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด

1.ตัวแปรกลุุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)

2.ตัวแปรอันดับ (Ordinal)

3.ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)

4.ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)

ประเภทตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)

r

คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา 

ตัวแปรตาม (Dependent Variables)

r

คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหรือผลของตัวแปรต้น