ทฤษฏีจิตรวิทยาพัฒนาการ
ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตสังคมของอิริคสัน
ขั้นที่ 1 ระยะทํารก อายุ 0-2 ปี : ขั้นไว้วํางใจและไม่ไว้วางใจผู้อื่น
ขั้นที่ 2 วัยเริ่มต้น อายุ 2-3 ปี : ขั้นที่มีควํามเป็นอิสระกับความละอายและสงสัย
ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน อายุ 3-6 ปี : ขั้นมีความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด
ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน อายุ 6-12 ปี : ขั้นเอาการเอางานกับความมีปมด้อย
ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น อายุ 12-20 ปี : ขั้นกํารเข้าใจอัตลักษณะของตนเองกับไม่เข้าใจตนเอง
ขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ อายุ 20-40 ปี : ขั้นความใกล้ชิดสนิทสนมกับความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว
ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ อายุประมําณ 60 ปีขึ้นไป : ขั้นความมั่นคงทํางจิตใจกับความสิ้นหวัง
ทฤษฎีของซิกมันด์ ฟรอย
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์์
1.สัญชาตญาณในการดำรงชีวิต
2.สัญชาตญาณแห่งความตาย
ทฤษฎีพัฒนําการทํางเพศ
1. ขั้นปําก (แรกเกิด - 18 เดือน)
2. ขั้นทวํารหนัก (อายุ 1 ปี 6 เดือน - 3 ปี 6 เดือน)
3. ขั้นอวัยวะเพศ (อายุ 3 ปี 6 เดือน - 6 ปี)
4. ขั้นพัก หรือขั้นแฝง (อายุ 6 - 12 ปี)
5. ขั้นเพศ (อายุ 12 - 20 ปี)
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาเพียเจต์
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว แรกเกิด - 2 ขวบ
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด 2 - 7 ขวบ
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม 7 – 11 ปี
4.ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม 11 ปีขึ้นไป
ทฤษฎีพัฒนําการด้านจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรมหรือระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 1 การถูกลงโทษและกํารเชื่อฟัง
ขั้นที่ 2 กฎเกณฑ์เป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ของตน
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตํามกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 3 ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม สำหรับ “เด็กดี”
ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบ
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตํามหลักกํารด้วยวิจํารณญําณหรือระดับเหนือกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 5 สัญญําสังคมหรือหลักการทำตํามคำมั่นสัญญํา
ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสํากล
ทฤษฏีพัฒนาการทางสังคมของแอคเลอร์
ความสนใจในสังคม
การเข้าร่วมสังคม
ความรู้สึกมีปมด้อย
วิถีชีวิต (วิถีสังคม)
เป้าหมายชีวิต
ทฤษฏีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญามนุษย์
1.ขั้นการกระทำ
2.ขั้นจินตนาการ
3.ชั้นสัญลักษณ์